Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73618
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSarana Sommano-
dc.contributor.advisorAngkana Inta-
dc.contributor.advisorPimonrat Tiansawat-
dc.contributor.authorJiratchaya Wisetkomolmaten_US
dc.date.accessioned2022-07-10T13:36:36Z-
dc.date.available2022-07-10T13:36:36Z-
dc.date.issued2020-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73618-
dc.description.abstractLocal detergent plants are widely used in cleansing purposes. The main bioactive substance in this group of plants is saponins that has the ability to produced foam and reduce surface tension. In Thailand, detergent plants have been used for a long time. However, the number of individual and biodiversity, as well as the traditional knowledge of plant utilisation have been declined. It is therefore necessary to study, collect and find ways to conserve this group of plants. Therefore, this research studied the driving factors towards the conservation of local detergent plants. The drivers are divided into social driver, chemical properties as a detergent and ecological drivers. The study of social driver, I studied the existing knowledge of detergent plant utilisation reported in Northern Thailand. The forest dependent community was chosen as they maintained current knowledge of plant utilization by using semi-structure questionnaires. Eight local plants were also collected from the comunities and analysed for bioactive compositions. The results showed that the knowledge of detergent plant utilisation was passed down to generations. The most known as detergent plants were Sapindus rarak and Litsea glutinosa with the highest use value (UV ~0.5). All of samples contained saponins compound. Principle Component Analysis (PCA) revealed the relationship between type and score of bioactive compounds. The utilization definition reported that definition in cleansing purposes should be mentioned to physical cleansing and should not include “spiritual cleansing”. In studying of the functionality and sustainble production of bioactive compound using tissue culture found that the extracts from Acacia concinna, Sapindus rarak and Litsea glutinosa had significant difference in detergent ability and saponin contents. Crude extracts of L. glutinosa had 48.21% detergent ability and contained saponins 0.52 mg DE/g extract. Callus induction has the highest induction rate in MS media contained 2.0 mg/L of IAA and these callus could produce bioactive compounds with constituents similar to the saponins. The ecological driver were also studied to serve as a way to conserve plants in their habitat. Initially found that Litsea trees can grow in the deciduous forest of Huai Hong Krai area. However, the natural area has a small number of population. From 56 permanent plots, only 6 trees from 6 plots were found. All study results can be concluded that detergent plants are valuable, potent, and need conservation. In a way to promote conservation, this can be done by educating people in the area on the use of plants, product development and the importance of the local natural resources. In addition to being able to conserve resources, it can also improve the community's economy.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectพืชซักล้างen_US
dc.subjectการอนุรักษ์en_US
dc.subjectซาโปนินen_US
dc.subjectพฤกษเคมีen_US
dc.subjectพฤกษศาสตร์พื้นบ้านen_US
dc.subjectConservationen_US
dc.subjectDetergent planten_US
dc.subjectSaponinen_US
dc.subjectPhytochemistryen_US
dc.subjectEthnobotanyen_US
dc.titleConservation drivers and tissue culture potential for active substance induction of local detergent plantsen_US
dc.title.alternativeการขับเคลื่อนด้านการอนุรักษ์และศักยภาพการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อการชักนำสารออกฤทธิ์สำคัญของพืชซักล้างท้องถิ่นen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashTissue culture-
thailis.controlvocab.thashBioactive compounds-
thailis.controlvocab.thashPlant bioactive compounds-
thailis.controlvocab.thashBiotechnology-
thailis.controlvocab.thashBiodiversity-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractพืชซักล้างท้องถิ่น เป็นกลุ่มพืชที่มีการนำมาใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลาย ซึ่งสารออกฤทธิ์ สำคัญทางชีวภาพหลัก ในพืชกลุ่มนี้ คือ สารซาโปนิน เป็นสารที่มีความสามารถในการเกิดฟอง และมี คุณสมบัติในการเป็นสารลดแรงตึงผิว ในประเทศไทยมีการใช้ประโยชน์จากพืชซักล้างมาเป็น เวลานาน แต่อย่างไรก็ตามจำนวน ความหลากหลายทางชีวภาพ และองค์ความรู้ดั้งเดิมเกี่ยวกับการใช้ ประโยชน์จากพืชเหล่านี้ได้ลดลงเป็นอย่างมาก จึงมีความจำเป็นที่ต้องศึกษา รวบรวม และหาแนวทาง ที่จะส่งผลต่อการอนุรักษ์ ดังนั้น ผู้วิจัยจึงได้จัดทำงานวิจัยชิ้นนี้ขึ้น เพื่อศึกษาแรงขับเคลื่อนที่จะ นำไปสู่การอนุรักษ์ของพืชกลุ่มซักล้างท้องถิ่น โดยแบ่งออกเป็น แรงขับเคลื่อนทางด้านสังคม คุณสมบัติทางเคมีในการเป็นสารชำระล้าง และด้านนิเวศวิทยา การศึกษาแรงขับเคลื่อนด้านสังคม ผู้วิจัย ได้ศึกษาการมีอยู่ขององค์ความรู้เกี่ยวกับการใช้ ประโยชน์ของพืชซักล้างในพื้นที่ภาคเหนือของไทย โดยได้รวบรวมรายชื่อพืชซักล้างจากเอกสาร งานวิจัยพฤกษศาสตร์พื้นบ้าน ชุมชนที่มีการพึ่งพิงประโยชน์จากป่าได้ถูกคัดเลือกเป็นตัวแทนใน การศึกษา เนื่องจากเป็นกลุ่มที่มีการรักษาองค์ความรู้ในเรื่องการใช้ประโยชน์จากพืชป่า โดยใช้ แบบสอบถามที่เตรียมไว้ และได้เก็บตัวอย่างพืชที่พบในพื้นที่ชุมชนทั้งสิ้น 8 ชนิด มาวิเคราะห์สาร ออกฤทธิ์สำคัญทางชีวภาพ ผลการศึกษาพบว่า ในชุมชมยงั คงมีการสืบทอดองค์ความรู้การใช้งานพืช กลุ่มนี้อยู่ ซึ่งพืชที่มีการรู้จักมากที่สุดคือ ส้มป่อย ส่วนพืชที่มีการใช้ในเชิงการซักล้างมากที่สุดคือ ประคำดีควายและหมี่เหม็น (ค่าการใช้งาน ~0.5) ในการวิเคราะห์สารสำคัญเบื้องต้น พบว่า พืชซักล้าง มีสารซาโปนินเป็นองค์ประกอบ และเมื่อนำข้อมูลไปวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสารสำคัญที่พบในพืชและคำนิยามการใช้ประโยชน์ในการซักล้าง พบว่า คำนิยามในการซักล้างนั้นเป็นการทำความ สะอาดร่างกายทางกายภาพ ไม่ควรรวมถึงการชำระล้างทางด้านจิตใจ ด้า นการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีและคุณสมบัติในการเป็นสารซักล้างของพืชซักล้าง และ การประยุกต์ใช้การเพาะเลี้ยงเนื้อเยอื่ เพื่อสร้างสำคัญ ผู้วิจัย ได้เก็บตัวอย่างส้มป่อย ประคำดีควาย และ หมี่เหมน็ จากพื้นที่ศึกษานำมาสกัดสารสำคัญ พบว่า สารสกัดหยาบจากพืชมีความสามารถในการเป็น สารซักล้างและมีปริมาณของสารซาโปนินแตกต่างกัน โดยสารสกัดจากใบหมี่เหม็นมีความสามารถ ในการทำความสะอาดร้อยละ 48.21 และมีปริมาณซาโปนิน 0.52 มิลลิกรัมซาโปนินต่อกรัมสารสกัด จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ด้วยอาหารสูตร MS เติมฮอร์โมน IAA ที่ความเข้มข้น 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร มี ประสิทธิภาพสูงที่สุดในการชักนำให้เกิดแคลลัส และแคลลัสได้จากการเพาะเลี้ยงสามารถสร้างสาร ออกฤทธิ์สำคัญทางชีวภาพที่มีองค์ประกอบคล้ายกับสารกลุ่มซาโปนินได้ นอกจากนี้ การศึกษาแรงขับเคลื่อนด้านนิเวศวิทยา ผู้วิจัย ไดศึ้กษาการเจริญเติบโตและการอยู่ รอดของต้นหมี่ในพื้นที่ป่าของศูนย์ศึกษาพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ เพื่อเป็น ข้อมูลพื้นฐานทางด้านสภาพนิเวศวิทยาและเป็นอีกแนวทางหนึ่งในการอนุรักษ์พืชในพื้นที่อาศัย โดย ใช้ข้อมูลป่าไม้จากการสุ่มแปลงถาวรทั้งสิ้น 56 แปลง พบว่า สภาพพื้นที่ของห้วยฮ่องไคร้เป็นป่าเต็ง รัง พบต้นหมี่กระจายอยู่เพียง 6 แปลง จำนวนแปลงละ 1 ต้น โดยมีการเจริญเติบโตทางลำต้นเพิ่มขึ้น โดยเฉลี่ยร้อยละ 2.9 - 23 ต่อปี ผลการศึกษาทั้งหมดจึงสามารถกล่าวโดยสรุปได้ว่า พืชกลุ่มซักล้างเป็นพืชที่มีคุณค่า มี ศักยภาพ และยังต้องการการอนุรักษ์ในแนวทางการส่งเสริมการอนุรักษ์นั้นสามารถทำได้โดยการให้ ความรู้แก่คนในพื้นที่ด้านการใช้ประโยชน์พืช การต่อยอดพัฒนาผลิตภัณฑ์ และชี้ให้เห็นถึง ความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นที่พวกเขามีอยู่ นอกจากจะเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรได้ แล้วย้งสามารถยกระดับเศรษฐกิจของชุมชนได้อีกด้วยen_US
Appears in Collections:GRAD-Sciences and Technology: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
609951001 จิรัชยา วิเศษโกมลมาศ.pdf13.29 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.