Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73588
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทนพร ตรีรัตน์สกุลชัย-
dc.contributor.authorเยาวลักษณ์ กันทาปันen_US
dc.date.accessioned2022-07-08T16:26:31Z-
dc.date.available2022-07-08T16:26:31Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73588-
dc.description.abstractThe thesis aims to find out the representation of Japanese working women via study on main character in morning drama named “Toto Neechan”. The drama consists of 156 episodes and broadcasted on April 4th, 2016, to October 1st, 2016, via NHK television station. It was found that the representation of working women can be divided into 4 categories. First is women who work under Ie system. It usually refers to women who work in their family business with main duty of taking care of household. However, content in this drama was different. It was found that, under Ie system, there still have areas for women who could be the top man, inherit the family business and work as a family leader. Second is women who work outside their home. It means that women stepped out of the Ie system. Those women are knowledgeable women. However, the women who work outside are still being treated unequally. Third is women who work part-time job. The drama presented “Receptionist” who work as waitress in a cafe. Those women ware widows or women who were past golden age for getting married. They could not work as Full-time job in the company due to the lack of knowledge or family problems. Fourth, finally, is women who work in ideal areas. The drama presented “Anata no Kurashi” Company which is an example of the ideal workplace and working conditions for working women, in accordance with the measure of the Japanese government which are the Act for Measures to Support the Development of the Next Generation and the Act on Promotion of Women’s Participation and Advancement in the Workplace.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleภาพแทนของผู้หญิงทำงานชาวญี่ปุ่นในละครเช้า เรื่อง “โตโตะเนจัง”en_US
dc.title.alternativeRepresentation of Japanese working women in the morning drama “Toto Neechan”en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashสตรี -- ญี่ปุ่น-
thailis.controlvocab.thashแรงงานสตรี -- ญี่ปุ่น-
thailis.controlvocab.thashสตรี -- การดำเนินชีวิต -- ญี่ปุ่น-
thailis.controlvocab.thashการเลือกปฏิบัติทางเพศในการจ้างงาน -- ญี่ปุ่น-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ภาพแทนของผู้หญิงทำงานชาวญี่ปุ่น ผ่านการศึกษาตัวละครหลักในละครเช้าเรื่อง "โตโตะเนจัง" จำนวน 156 ตอน ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ช่องเอ็นเอชเค เมื่อวันที่ 4 เมษายน - 1 ตุลาคม ค.ศ. 2016 จากการศึกษาพบว่า ภาพแทนที่ละครนำเสนอนั้นปรากฏอยู่ 4 ภาพดังนี้ 1) ผู้หญิงทำงานภายใต้ระบบอิเอะ โดยปกติหมายถึงผู้หญิงที่ทำงานในธุรกิจครอบครัว ซึ่งมีหน้าที่หลักคือดูแลงานบ้าน แต่ในละครเช้าเรื่องนี้กลับแตกต่าง ซึ่งพบว่าภายใต้ระบบอิเอะ ก็ยังมีพื้นที่ที่ผู้หญิงสามารถเป็นใหญ่ได้ สามารถสืบทอดธุรกิจครอบครัวหรือเป็นผู้นำครอบครัวได้ 2) ผู้หญิงทำงานบอกบ้าน หมายถึง ผู้หญิงที่ทำงานในสถานที่ที่ไม่ใช่ของธุรกิจครอบครัว เป็นผู้หญิงที่ก้าวออกมาจากระบบอิเอะ ซึ่งเป็นผู้หญิงที่มีความรู้ มีทักษะความสามารถ แต่พบว่าผู้หญิงทำงานนอกบ้านก็ยังถูกปฏิบัติอย่างไม่เท่าเทียม 3) ผู้หญิงทำงานพิเศษ ในละครนำเสนออาชีพ "พนักงานต้อนรับแขก" ซึ่งเป็นพนักงานเสิร์ฟในคาเฟ่ ส่วนใหญ่เป็นผู้หญิงที่เป็นแม่ม่ายหรือผู้หญิงที่เลยช่วงเวลาที่สามารถจะแต่งงาน พวกเธอไม่สามารถเข้าสู่ระบบการทำงานตามบริษัทได้ เนื่องจากข้อจำกัดทางด้านความรู้ความสามารถหรือด้านครอบครัว และ 4) ผู้หญิงทำงานในพื้นที่อุดมคติ ละครเรื่องนี้นำเสนอสภาพการทำงานและสถานที่ทำงานในอุดมคติที่เหมาะสมสำหรับผู้หญิงทำงาน โดยบริษัท "อานาตะ โนะ คูราชิ" เป็นเสมือนตัวอย่างของสถานที่ทำงานในอุคมคติของผู้หญิงตามมาตราการสนับสนุนการเลี้ยงดูพลเมืองรุ่นต่อไป และกฎหมายส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการทำงานของผู้หญิงรัฐบาลญี่ปุ่นen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590132083 เยาวลักษณ์ กันทาปัน.pdf17.66 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.