Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73562
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิริยะ ยาวิราช | - |
dc.contributor.advisor | พิสัยศิษฎ์ ชัยจรีนนท์ | - |
dc.contributor.author | ฤทธา มาภักดีวงศ์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-07T11:20:27Z | - |
dc.date.available | 2022-07-07T11:20:27Z | - |
dc.date.issued | 2021-01 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73562 | - |
dc.description.abstract | Purposes: To study amount of silane coupling agent that form monolayer on nano-alumina particles and the effect of silanized nano-alumina particles mixed in acrylic resin on flexural strength and modulus of elasticity. Materials and Methods: Silanized nano-alumina and non-silanized nano-alumina particles were mixed with acrylic resin at concentrations of 0.25, 0.5, 0.75, 1, 3 and 5% w/w, producing the experimental groups. The control group was acrylic resin without nano-alumina. The specimens were 10 mm in width, 64 mm in length and 3.3 mm in thickness. Flexural strength and modulus of elasticity were investigated for all groups and were analyzed using one-way ANOVA at 95% confidence intervals. Results: The average flexural strength ranged between 75.86 - 100.63 MPa. The highest average flexural strength was found in the 0.25% w/w silanized nano-alumina group (100.63 MPa ± 14.05) and significantly higher than control group. The average modulus of elasticity ranged between 1.95 - 3.92 GPa. The highest average modulus of elasticity was found in the 0.5% w/w silanized nano -alumina group (3.92 ± 0.81 GPa). Conclusion: The highest average flexural strength was found in the 0.25% w/w silanized nano -alumina group and was significantly different from control group. The average flexural strength of resin acrylic mixed with non-silanized alumina group were not significantly different from control group. The average modulus of elasticity values in all the non - silanized nano-alumina groups were significantly lower than those of the control group and all silanized nano-alumina groups. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ความแข็งแรงดัดขวาง | en_US |
dc.subject | เมทิลเมทาคริเลต | en_US |
dc.subject | โมดูลัสของความยืดหยุ่น | en_US |
dc.subject | อนุภาคนาโนอลูมินา | en_US |
dc.subject | สารคู่ควบไซเลน | en_US |
dc.subject | flexural strength | en_US |
dc.subject | methyl methacrylate | en_US |
dc.subject | modulus of elasticity | en_US |
dc.subject | nano-alumina particles | en_US |
dc.subject | silane coupling agents | en_US |
dc.title | การศึกษาคุณสมบัติดัดขวางของพอลิเมทิลเมทาคริเลตเสริมด้วยอนุภาคนาโนอลูมินาที่ผ่านการปรับสภาพผิวด้วยสารคู่ควบไซเลนในปริมาณที่แตกต่างกัน | en_US |
dc.title.alternative | A Study of flexural properties of poly methyl methacrylate reinforce with various amount of Silanized nano Alumina | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | โพลิเมทิลเมทาคริเลต | - |
thailis.controlvocab.thash | อนุภาคนาโน | - |
thailis.controlvocab.thash | อะลูมินัมออกไซด์ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | จุดประสงค์: เพื่อศึกษาถึงปริมาณของสารคู่ควบไซเลนที่ทำให้เกิดการเคลือบผิวชั้นเดียวบนอนุภาคนาโนอลูมินา และผลของปริมาณอนุภาคนาโนอลูมินาที่ผ่านการปรับสภาพผิวด้วยสารคู่ควบไซเลนที่ผสมในพอลิเมทิลเมทาคริเลตต่อคุณสมบัติสองประการ คือ ความแข็งแรงดัดขวางและโมดูลัสของความยืดหยุ่น วัสดุและวิธีการ: นาอนุภาคนาโนอลูมินาที่ผ่านการปรับสภาพผิวด้วยสารคู่ควบไซเลนและไม่ได้ปรับสภาพผิวร้อยละ 0.25, 0.5, 0.75, 1, 3 และ 5 โดยน้าหนักผสมกับเรซินอะคริลิกเป็นกลุ่มทดลอง โดยกลุ่มควบคุมคือเรซินอะคริลิกที่ไม่ได้ผสมอนุภาคนาโนอลูมินา ขนาดชิ้นตัวอย่างการทดลองกว้าง 10 มิลลิเมตร, ยาว 64 มิลลิเมตรและหนา 3.3 มิลลิเมตร ทดสอบความแข็งแรงดัดขวางและโมดูลัสของความยืดหยุ่น วิเคราะห์ผลด้วยสถิติความแปรปรวนแบบทางเดียวที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ผลการทดลอง: ค่าเฉลี่ยความแข็งแรงดัดขวางมีค่าตั้งแต่ 75.86 - 100.63 เมกะปาสคาล ค่าสูงสุดพบในกลุ่มเรซินอะคริลิกที่ผสมอนุภาคนาโนอลูมินาที่ปรับสภาพผิวด้วยสารคู่ควบไซเลนร้อยละ 0.25 โดยน้ำหนัก (100.63 ± 14.05 เมกะปาสคาล) และแตกต่างจากกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ค่าเฉลี่ยโมดูลัสของความยืดหยุ่นมีค่าตั้งแต่ 1.95 - 3.92 จิกะปาสคาล ค่าสูงสุดพบในกลุ่มเรซินอะคริลิกที่ผสมอนุภาคนาโนอลูมินาที่ปรับสภาพผิวด้วยสารคู่ควบไซเลนร้อยละ 0.5 โดยน้ำหนัก (3.92 ± 0.81 จิกะปาสคาล) โดยไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สรุปผลการศึกษา: สารคู่ควบไซเลนที่ทำให้เคลือบอนุภาคนาโนอลูมินาชั้นเดียวมีความเข้มข้นที่ 0.118 กรัมเอ็มพีเอส/กรัมอลูมินา กลุ่มเรซินอะคริลิกที่ผสมอนุภาคนาโนอลูมินาที่ปรับสภาพผิวด้วยสารคู่ควบไซเลนร้อยละ 0.25 โดยน้ำหนักมีค่าเฉลี่ยของความแข็งแรงดัดขวางสูงสุดและกลุ่มเรซินอะคริลิกที่ผสมอนุภาคนาโนอลูมินาที่ปรับสภาพผิวด้วยสารคู่ควบไซเลนร้อยละ 0.5 โดยน้ำหนักมีค่าเฉลี่ยโมดูลัสความยืดหยุ่นที่มากที่สุด | en_US |
Appears in Collections: | DENT: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
600931033 ฤทธา มาภักดีวงศ์.pdf | 1.94 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.