Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73542
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพรรณิกา ลือชารัศมี-
dc.contributor.advisorจิราคม สิริศรีสกุลชัย-
dc.contributor.authorพงศกานต์ สัญญเดชen_US
dc.date.accessioned2022-07-07T09:23:26Z-
dc.date.available2022-07-07T09:23:26Z-
dc.date.issued2021-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73542-
dc.description.abstractThe objective of this research is to study estimate the impact of minimum wages on employees' income at different levels of income and assess the impact on the inequality of employee income in Thailand. The study uses data from the Labor Force Survey project from the National Statistical Office. Which is the study of factors affecting wages and the impact of the minimum wage policy Quantitative regression techniques were used to analyze wage changes. When a minimum wage setting policy is established using the logwage equation to look at the impact of the minimum wage policy. By comparing the coefficients showing the rate of change of the minimum wage on the employee's wages, they were compared to look at the impact of the minimum wage policy in each quantile to study the impact. Of the policy on determining the minimum wage rate against the inequality The equation estimate found that the determination of the minimum wage had the greatest impact on the low-income workers. Affect the employees of the middle income group, followed by and affecting the low-income employees the least. Other variables have both had a significant impact on the low-income employees. And impact greatly on the high income employees The variables that had a significant impact on low-income employees were age, area, municipality and IMR, while variables that had a significant impact on high-income employees were marital status and education level. From the estimation, it can be seen that the increase in the minimum wage significantly affects the increase in the wages of employees. By that increase in wage It does not just happen with the lowskilled workforce. But also external impacts to more skilled workers or it can be said that The minimum wage policy is effective in increasing income. And reduce the poverty of the people It can also help reduce the disparity a little.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลกระทบของนโยบายการกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำต่อรายได้ของลูกจ้างในกลุ่มรายได้ต่ำและรายได้สูงen_US
dc.title.alternativeEffect of minimun wage policy on income of employees in low and high income groupsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการจ้างงาน-
thailis.controlvocab.thashค่าจ้าง-
thailis.controlvocab.thashรายได้-
thailis.controlvocab.thashลูกจ้าง -- ไทย-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิจัยเล่มนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและประเมินผลกระทบของค่าจ้างขั้นต่ำต่อรายได้ของ ลูกจ้างในระดับต่างๆ เพื่อประเมินผลกระทบต่อความเหลื่อมล้ำของรายได้ลูกจ้างในประเทศไทย โดย การศึกษาใช้ข้อมูลโครงการสำรวจภาวะการทำงาน (Labor Force Survey) จากสำนักงานสถิติแห่งชาติ ซึ่งเป็นการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อค่าจ้างแรงงาน และผลกระทบของนโยบายการกำหนดอัตราค่าจ้างขั้น ต่ำโดยใช้เทคนิคการถดถอยเชิงปริมาณเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของค่าจ้างแรงงาน เมื่อมี การกำหนดนโยบายการกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำโดยใช้สมการ logwage เพื่อดูผลกระทบของ นโยบายการกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำโดยนำค่าสัมประสิทธ์ิที่แสดงถึงอัตราการเปลี่ยนแปลงของ ค่าจ้างขั้นต่ำที่มีต่อค่าจ้างของลูกจ้างมาปรียบเทียบเพื่อดูผลกระทบของนโยบายการกำหนดอัตรา ค่าจ้างขั้นต่ำในแต่ละควอนไทล์เพื่อศึกษาถึงผลกระทบของนโยบายการกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำต่อ ความเหลื่อมล้า ผลการประมาณสมการ พบว่า การกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำนั้นส่งผลกระทบต่อลูกจ้างกลุ่มผู้มี รายได้ต่ำมากที่สุด ส่งผลกระทบต่อลูกจ้างกลุ่มผู้มีรายได้ปานกลางรองลงมา และส่งผลกระทบต่อ ลูกจ้างกลุ่มผู้มีรายได้สูงน้อยที่สุด ตัวแปรอื่นๆ มีทั้งส่งผลกระทบอย่างมากต่อลูกจ้างกลุ่มผู้มีรายได้ต่า และส่งผลกระทบอย่างมากต่อลูกจ้างกลุ่มผู้รายได้สูง โดยตัวแปรที่ส่งผลกระทบอย่างมากต่อลูกจ้าง กลุ่มผู้มีรายได้ต่ำได้แก่ อายุ เขตการปกครองเทศบาล และ IMR ส่วนตัวแปรที่ส่งผลกระทบอย่างมาก ต่อลูกจ้างกลุ่มผู้มีรายได้สูง ได้แก่ สถานภาพสมรส และ ระดับการศึกษา จากผลการประมาณจะเห็นได้ว่าการเพิ่มค่าจ้างขั้นต่ำส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของค่าจ้างของลูกจ้าง อย่างมีนัยสาคัญ โดยการเพิ่มขึ้นของค่าจ้างนั้น ไม่เพียงเกิดขึ้นกับกลุ่มแรงงานที่มีทักษะต่ำที่ได้รับค่าจ้างต่ำแต่ยังส่งผลกระทบภายนอกไปสู่กลุ่มแรงงานที่มีทักษะสูงขึ้น หรือกล่าวได้ว่านโยบายการ กำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำมีประสิทธิผลในการเพิ่มรายได้ และลดความยากจนของประชาชน อีกทั้ง สามารถช่วยลดความเหลื่อมล้ำได้เล็กน้อยอีกด้วยen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601631015 พงศกานต์ สัญญเดช.pdf1.17 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.