Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73538
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorRatapol Wudhikarn-
dc.contributor.advisorWorawit Janchai-
dc.contributor.advisorAtichart Harncharnchai-
dc.contributor.authorWei Duen_US
dc.date.accessioned2022-07-06T14:43:51Z-
dc.date.available2022-07-06T14:43:51Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73538-
dc.description.abstractTranslation competence is considered to be made up of different components, and domain knowledge is one of the most important components. Because translation market has evolved into unprecedented sophistication and specialization, which may cover almost every sphere of people’s life, ranging from legal translation, medical translation, business and finance translation to scientific and technical translation. All these changes require translators to acquire not only linguistic knowledge, but also the background knowledge in one or two specific domains, so that they can provide quality translation service in the market. The thesis intends to develop an integrated approach to improve Chinse students’ translation competence especially in the area of domain knowledge. The case study took place in School of Foreign Languages and Cultures, Ningxia University, China. The research is composed of four stages including the problem justification, the development of the approach, the prioritization and selection of the approach, and the implementation of the selected approach. The research problem is translation students’ insufficient domain knowledge, which affects their translation accuracy and speed. To address this problem, popular constructivist methods and learning in action theory from knowledge management were reviewed, and possible sets of integrated methods were proposed according to the translation industries’ requirements of translators. To select the most appropriate one from among the alternatives without being subjective, Best and Worst Method was adopted, as it uses relatively fewer data and generates more reliable results due to its consistent comparison. Best-Worst Method analysis was operated twice, with domain knowledge ranked as the most important criterion and Problem-based Learning with Think-aloud Protocol selected as the most desirable approach. The selected approach was then implemented and validated. The approach was modified after three-time implementation. The results indicated that the integrated approach stimulated more active learning, and students reported general satisfaction of the approach and better understanding of domain knowledge. A paired t-test showed that there was a significant level of 0.01 between the pretest and posttest (t=-18.662, p=0.000), and the difference in specific comparison showed that the average value of pretest (75.41) was significantly lower than the average value of posttest (87.18); meanwhile, the total error counts of the posttest dropped from 102 to 78.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University-
dc.titleEffect of problem-based learning with think aloud protocol approach on Chinese students’ translation competencyen_US
dc.title.alternativeผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับโปรโตคอลการคิดออกเสียงต่อสมรรถนะการแปลของนักศึกษาจีนen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashTranslating and interpreting-
thailis.controlvocab.thashStudents, Foreign -- China-
thailis.controlvocab.thashApplied linguistics-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractความสามารถในการแปลถูกนั้นระบุว่าเกิดจากองค์ประกอบที่แตกต่างและหลากหลายโดยองค์ความรู้เฉพาะทางนั้นถูกระบุว่าเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่มีความสำคัญที่สุดอย่างหนึ่ง เนื่องจากตลาดทางด้านการแปลนั้นได้เปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปสู่รูปแบบความสลับซับซ้อนและความเชี่ยวชาญที่ไม่เคยมีมาก่อนซึ่งครอบคลุมทุกรูปแบบในการดำเนินชีวิตของมนุษย์ ตั้งแต่การแปลทางกฎหมาย การแปลทางการแพทย์ การแปลทางการเงินและธุรกิจ ไปสู่การแปลเชิงเทคนิคและทางวิทยาศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ต้องการผู้แปลที่ไม่ได้มีเพียงแต่ความรู้ทางภาษาแต่ต้องมีความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบที่เกี่ยวข้องกับการแปล สิ่งเหล่านี้จะทำให้นักแปลนั้นสามารถให้บริการแปลที่มีคุณภาพต่อตลาดได้ งานวิจัยชิ้นนี้ มุ่งเน้นที่จะพัฒนากระบวนการเชิงบูรณาการที่พัฒนาความสามารถทางการแปลของนักเรียนจีน โดยอย่างยิ่งทางด้านองค์ความรู้เฉพาะทาง กรณีศึกษาของงานวิจัยนี้ถูกดำเนินการที่โรงเรียนวัฒนธรรมและภาษาต่างชาติ ของมหาวิทยาลัยหนิงเซี่ย สาธารณรัฐประชาชนจีน งานวิจัยนี้ประกอบไปด้วย 4 ขั้นตอนหลัก คือ การระบุปัญหา การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ที่เป็นไปได้ การจัดเรียงความสำคัญและการคัดเลือกแนวทางการพัฒนาการเรียนรู้ และขั้นตอนสุดท้ายการนำเอาแนวทางที่ถูกคัดเลือกไปใช้งานจริง ปัญหาของงานวิจัยที่ได้จากการศึกษานั้นพบว่า องค์ความรู้เฉพาะของนักเรียนเกี่ยวกับการแปลนั้นมีไม่เพียงพอซึ่งส่งผลต่อความถูกต้องและความรวดเร็ว เพื่อทำการแก้ไขปัญหานี้ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และการปฏิบัติตามหลักการเรียนรู้ตามหลักการจัดการความรู้ทั้งหลายได้ถูกศึกษาและรวบรวม จากผลลัพธ์ที่ได้เหล่านี้ได้ถูกนำมาพัฒนาต่อเป็นรูปแบบและวิธีการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการที่เป็นไปได้หลากหลายวิธี ดังนั้นเพื่อทำการเลือกวิธีการที่เหมาะสมกับสภาพปัญหาที่มีความสลับซับช้อน วิธีการแย่ที่สุดและดีที่สุดได้ถูกนำมาประยุกต์ใช้เพื่อเลือกแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมที่สุด เนื่องด้วยความเหมาะสมทางด้านการใช้ข้อมูลและการให้ผลลัพธ์ที่น่าเชื่อถือ วิธีการแย่ที่สุดและดีที่สุดได้ถูกนำมาประยุกต์ใช้ทั้งหมดสองครั้งเพื่อระบุความสำคัญขององค์ความรู้เฉพาะและวิธีการแก้ไขปัญหาที่ดีที่สุดซึ่งคือรูปแบบการบูรณาการกันระหว่างการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน และวิธีการคิดออกเสียง โดยวิธีการที่ถูกเลือกนี้ใด้ถูกนำไปประยุกต์ใช้กับกรณีศึกษาต่อไป รูปแบบวิธีการที่ถูกเลือกได้ถูกนำไปประยุกต์ใช้ทั้งหมด 3 ครั้ง โดยผลลัพธ์แสดงให้เห็นถึงการเพิ่มขึ้นของกิจกรรมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ความพึงพอใจของนักเรียน และความรู้ ความเข้าใจขององค์ความเฉพาะ การทดสอบทางสถิติแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างอย่างมีนัยยะสำคัญระหว่างผลการสอบก่อนใช้แนวทาง (ค่ำเฉลี่ย 75.41 คะแนน) และหลังการใช้แนวทาง (ค่าเฉลี่ย 87.18 คะแนน) ในขณะเดี่ยวกันจำนวนความผิดพลาดโดยรวมของการสอบลดลงจาก 102 เหลือ 78en_US
Appears in Collections:CAMT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
572151004 WEI DU.pdf3.07 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.