Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73519
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPisith Singjai-
dc.contributor.advisorWiradej Thongsuwan-
dc.contributor.advisorOrawan Wiranwetchayan-
dc.contributor.authorPosak Tippoen_US
dc.date.accessioned2022-07-06T09:41:50Z-
dc.date.available2022-07-06T09:41:50Z-
dc.date.issued2021-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73519-
dc.description.abstractNickel oxide (NiO) films cover numerous electronic applications, including transparent conducting oxides, heterojunction and hole transport layer due to its high transparency and wide band gap. A sparking discharge is a new and unique method for the deposition of NiO films because of non-complex operation and non-requirement of a vacuum atmosphere. However, NiO films fabricated by this method display a porous surface with inferior crystallinity and poor electrical properties as well. To reduce the porousness and enhance the crystallinity of NiO films, the assistance of a permanent magnet in the sparking apparatus is introduced. Furthermore, a substitutional of Ni ions by Co ions are considered for the improvement of the electrical properties of NiO films. Herein, we report the investigation of the NiO film and the p-NiO/n-ZnO heterojunction deposited by the sparking method under a uniform magnetic field. Moreover, we also report an influence of Co concentration on the properties of NiO films made by this method. Our results indicate that the increase in the magnitude of the magnetic field from 0 mT to 375 mT reduces the porousness and enhances the crystallinity of NiO films. Meanwhile, by the incorporation of cobalt ion until 0.1 M, a carrier concentration of NiO is increased, resulting in a reduction of the resistivity. This consequence is in agreement with the increase in a number of higher-valence Ni3+ because of the Co2+ substituted Ni2+. For heterojunction, the best device shows the rectification ratio of 95 and the ideality factor of 4.92. This work provides an alternative method for the deposition of the NiO film with promising applications in optoelectronic devices.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleFabrication of NiO film by sparking method under a magnetic field for application in NiO/ZnO Heterojunctionen_US
dc.title.alternativeการประดิษฐ์ฟิล์มนิกเกลออกไซด์โดยวิธีสปาร์คภายใต้สนามแม่เหล็กสาหรับประยุกต์ใช้ในรอยต่อวิวิธพันธ์นิกเกิลออกไซด์/ซิงค์ออกไซด์en_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.lcshNickel oxide-
thailis.controlvocab.lcshNickel compounds-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractฟิล์มนิกเกิลออกไซด์ครอบคลุมการใช้งานด้านอิเล็กทรอนิกส์จานวนมากรวมไปถึงออกไซด์นาไฟฟ้าโปร่งใส รอยต่อวิวิธพันธ์และชั้นการขนส่งโฮล เนื่องจากมีความโปร่งใสสูงและแถบช่องว่างพลังงานกว้าง การสปาร์คเป็นวิธีการเฉพาะและใหม่สาหรับการตกสะสมฟิล์มนิกเกิลออกไซด์ เนื่องจากมีการทางานที่ไม่ซับซ้อนและไม่ต้องการระบบสุญญากาศ อย่างไรก็ตามฟิล์มนิกเกิลออกไซด์ที่ทาขึ้นด้วยวิธีนี้มีรูพรุนที่พื้นผิวกับความเป็นผลึกต่าและมีสมบัติทางไฟฟ้าที่ไม่ดีเช่นกัน เพื่อลดความพรุนและเพิ่มความเป็นผลึกของฟิล์มนิกเกิลออกไซด์ ได้นาเอาแม่เหล็กถาวรเสริมให้กับเครื่องสปาร์ค นอกจากนี้การแทนที่นิกเกิลไอออนด้วยโคบอลต์ไอออนได้รับการพิจารณาเพื่อปรับปรุงสมบัติทางไฟฟ้าของฟิล์มนิกเกิลออกไซด์ ในที่นี่เรารายงานการตรวจสอบฟิล์มนิกเกลออกไซด์และรอยต่อวิวิธพันธ์นิกเกิลออกไซด์/ซิงค์ออกไซด์ที่ตกสะสมโดยวิธีการสปาร์คภายใต้สนามแม่เหล็กที่สม่าเสมอ นอกจากนี้เรายังรายงานถึงอิทธิพลของความเข้มข้นของโคบอลต์ที่มีต่อสมบัติของฟิล์มนิกเกลออกไซด์ ผลการศึกษาของเราระบุว่าการเพิ่มขนาดของสนามแม่เหล็กจาก 0 มิลลิเทสลา ถึง 375 มิลลิเทสลา ช่วยลดความพรุนและเพิ่มความเป็นผลึกให้กับฟิล์มนิกเกลออกไซด์ ในขณะเดียวกันการรวมตัวกับโคบอลต์ไอออนจนถึง 0.1 โมลาร์ ช่วยเพิ่มความเข้มข้นของพาหะให้กับฟิล์มนิกเกลออกไซด์ ส่งผลให้มีความต้านทานลดลง โดยผลลัพธ์นี้สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของจานวน Ni3+ ที่เกิดจากการแทนที่ Ni2+ ด้วย Co2+ สาหรับรอยต่อวิวิธพันธ์ อุปกรณ์ที่ดีที่สุดมี อัตราส่วนของเรคทิฟิเคชันเท่ากับ 95 และค่าแฟคเตอร์อุดมคติเท่ากับ 4.92 งานวิจัยนี้ให้อีกทางเลือกหนึ่งสาหรับการตกสะสมฟิล์มนิกเกิลออกไซด์ที่มีแนวโน้มนาไปใช้ในอุปกรณ์ออปโตอิเล็กทรอนิกส์en_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600551054 โพธิ์ศักดิ์ ทิพย์โพธิ์.pdf12.04 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.