Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73511
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรรณวิสาข์ ไชยโย | - |
dc.contributor.advisor | ปิยะมาศ ใจไฝ่ | - |
dc.contributor.author | สุภาพรรณ ไกรเดช | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-05T10:04:46Z | - |
dc.date.available | 2022-07-05T10:04:46Z | - |
dc.date.issued | 2020-12 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73511 | - |
dc.description.abstract | The thesis entitled “The relationship between human and animal from Peter Singer’s perspective”. The objectives of this research were to study the relationship between human and animal from Peter Singer’s perspective, in the aspect of using animals as food and research subjects. This research was a documentary research based on the Animal Liberation book by Peter Singer and his other works as a conceptual framework. The results of the study indicated that problems in the relationship between human and animal derive from a speciesism in a human society, meaning an unreasonable bias or view towards other lives. The relationships between human and animal are in the direction of an exploitation of animals because animals are classified to be lower than humans. The lives of animals are therefore only to satisfy the goal of humans. Singer, as an ethicist who was influenced by the concept of utilitarianism, has an opinion that ethics should not be limited to only humans but should also extend to other lives as well in order to improve the status of animals to be equal to humans as animals could perceive pain, especially mammals that have senses similar to humans and could perceive suffering. Therefore, it was necessary to consider the equality between animals and humans. As a practical ethicist, Singer’s concept is based on changing ideas on an individual level and convincing to take action rather than a theoretical argument. In his perspective, to gain benefits, humans need to change their behavior by creating happiness rather than suffering that will occur with animals. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ความสัมพันธ์ | en_US |
dc.subject | มนุษย์ | en_US |
dc.subject | สัตว์ | en_US |
dc.subject | ปีเตอร์ ซิงเกอร์ | en_US |
dc.subject | relationship | en_US |
dc.subject | human | en_US |
dc.subject | animal | en_US |
dc.subject | Peter Singer | en_US |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสัตว์ในทัศนะของปีเตอร์ ซิงเกอร์ | en_US |
dc.title.alternative | Relationship between human and animal from Peter Singer’s Perspective | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ซิงเกอร์, ปีเตอร์, ค.ศ 1946 | - |
thailis.controlvocab.thash | จริยศาสตร์ | - |
thailis.controlvocab.thash | ปรัชญา | - |
thailis.controlvocab.thash | ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสัตว์ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วิทยานิพนธ์เรื่องความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสัตว์ในทัศนะของปีเตอร์ ซิงเกอร์ มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสัตว์ในทัศนะของปีเตอร์ ซิงเกอร์ ใน ฐานะการใช้สัตว์เพื่อเป็นอาหารและสัตว์ทดลอง การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงเอกสาร โดยอาศัยหนังสือ Animal Liberation ของปีเตอร์ ซิงเกอร์ และผลงานอื่น ๆ ของเขามาเป็นกรอบในการวิเคราะห์ ผลจากการศึกษาพบว่าปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสัตว์เกิดจากในสังคมมนุษย์มี ท่าทีของความเป็นเผ่าพันธุ์นิยม (Speciesism) ซึ่งหมายถึงการมีอคติหรือทัศนคติอันไร้เหตุผลต่อ สิ่งมีชีวิตอื่น ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสัตว์จึงเป็นไปในลักษณะของการขูดรีดผลประโยชน์ เพราะสัตว์ถูกจัดให้อยู่ในสถานะที่ต่ำกว่ามนุษย์ การดำรงอยู่ของสัตว์จึงเป็นไปเพื่อตอบสนองต่อ เป้าหมายของมนุษย์เท่านั้น ซิงเกอร์ในฐานะนักจริยศาสตร์ได้รับอิทธิพลแนวความคิดประโยชน์นิยม มีความเห็นว่าความเสมอภาคในทางจริยธรรมไม่ควรจำกัดอยู่เพียงแค่สมาชิกในเผ่าพันธุ์มนุษย์เท่านั้น แต่ควรแผ่ขยายออกไปยังสิ่งมีชีวิตอื่นด้วย เพื่อยกสถานะของสัตว์ให้เท่าเทียมกับมนุษย์ เนื่องจากสัตว์ มีความสามารถในการรับรู้ความเจ็บปวด โดยเฉพาะสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีระบบประสาทคล้ายคลึง กับของมนุษย์ที่สามารถรับรู้ความรู้สึกเจ็บปวดได้ จึงจำเป็นที่จะต้องได้รับการพิจารณาความเสมอภาค เท่าเทียมกับมนุษย์ ซิงเกอร์ในฐานะเป็นนักจริยศาสตร์เชิงปฏิบัติ ที่มีลักษณะเพื่อปรับเปลี่ยนความคิด ในระดับปัจเจกบุคคล และโน้มน้าวให้ลงมือทำมากกว่าที่จะเป็นข้อถกเถียงในทางทฤษฎี เห็นว่า ผลประโยชน์ที่มนุษย์พึงจะได้มานั้น มนุษย์จำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ด้วยการสร้างความสุข มากกว่าความทุกข์ที่จะเกิดขึ้นกับสัตว์ | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
600131014 สุภาพรรณ ไกรเดช.pdf | 8.96 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.