Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73437
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกาญจนา โชคถาวร-
dc.contributor.advisorเยาวเรศ เชาวนพูนผล-
dc.contributor.authorธวัชชัย อ้ายผงen_US
dc.date.accessioned2022-06-23T03:27:40Z-
dc.date.available2022-06-23T03:27:40Z-
dc.date.issued2020-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73437-
dc.description.abstractThis study aimed to 1) investigate the process of community participation in community forest management, and to 2) study current conditions of community forest management, problems and obstacles in community forest management. There were two types of instruments used to collect data as 1) a questionnaire was used to collect data from state officials, personnel from agencies and organizations, monks, co unity leaders, local philosophers, and people, totally 55 persons, in the area of Mae Ta Sub-district, Mac-On District, Chiang Mai province for satisfaction assessment, 2) an interview with 7 relevant persons, community representatives, who played an important role in the target area so as to study perception and mobilization of policies, roles and duties, roles and duties in communities, public relations, coordination with community and state agencies, problems and obstacles including suggestions for making an analysis. The data obtained from the questionnaire and interview were interpreted and described. The findings from the study showed that people paid attention and gave importance to mutual problem solving related to deforestation and forest degradation. Power of community was expressed through gathering in a group to analyze arising problems and impacts so as to seek mutual solution guidelines. The community made cooperation in preparing action plans by determining requirements, provisions, and laws to ensure the community operation was carried out in the same direction according to the established action plans and forests of Mae Ta community could be fertile again by means of cooperation from all sectors and instilling consciousness in forest preservation and taking care of forests through various activities and projects in combination with community traditions and cultures passed down from the past. Buddhism principles were used to enhance the community operation. People kept monitoring and preventing the occurrence of deforestation. Offenders were arrested and transferred to government sectors to handle further. Besides, career promotion was available in community by relying on the principle of sufficiency economy for development so as to lessen forest invasion; for example, promoting baby comn cultivation, animal raising for food or products, organic farming so that people in the area could sell products outside their community, making Mae Ta community widely known by many people outside in terms of farming products. People could generate their income and the community became an agro-tourism site. It could be said that this situation was the effect from the cooperation of people in the community who brainstormed and created action plans and developing guidelines, leading to an elevation of livelihood of people in the area who expected to see Mae Ta community forest fertile again, a variable that brought success to Mae Ta sub-district community, Mae On district, Chiang Mai province. Actually, what Mae Ta sub-district community needed were government sector agencies should mutually implement action plans with community more and more including specifying the scope of forest areas to be more explicit, coordination with government sector agencies between provinces should be made to ensure further cooperation in mutual care and development in the future.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการป่าชุมชนแบบยั่งยืนในตำบลแม่ทา อำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeCommunity participation in community forest sustainable management in Mae Ta Sub-district, Mae-On District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashป่าไม้และการป่าไม้ -- (แม่ออน) เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการป่าไม้แบบยั่งยืน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาวิจัยเรื่อง "การมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการป่าชุมชนแบบยั่งยืนในตำบลแม่ทา อำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่-มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษากระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการป่าชุมชน 2) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารจัดการป่าชุมชนปัจจุบัน ปัญหาและอุปสรรค ในการบริหารจัดการพื้นที่ป่าชุมชน โดยการศึกษาในครั้งนี้ผู้วิจัยจะใช้เครื่องมือในการเก็บข้อมูล 2 แบบ คือ 1) การใช้แบบสอบแบบสอบถาม (Questionnaire) จากกลุ่มเจ้าหน้าที่รัฐ หน่วยงานองค์กรต่าง ๆ พระสงฆ์ ผู้นำ ปราชัญชาวบ้านและประชาชนจำนวน 55 คนในเขตพื้นที่ตำบลแม่ทา อำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อประเมินผลความพึงพอใจ 2) การสัมภาษณ์ (Interview) สัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้องจำนวน 7 คน ตัวแทนผู้นำชุมชบผู้ที่มีบทบาทสำคัญในเขตพื้นที่เป้าหมาย เพื่อศึกษาด้านการรับรู้และขับเคลื่อน นโยบายด้านบทบาทหน้าที่ ด้านบทบาทหน้าที่ในชุมชน ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านการติดต่อประสานงานกับชุมชนและหน่วยงานของรัฐ ด้านปัญหาและอุปสรรค์ ตลอดจนค้านข้อเสนอแนะต่างๆ เพื่อทำการวิเคราะห์โดยนำข้อมูลที่ได้จากการเก็บแบบสอบถามและการสัมภาษณ์ นำมาตีความและบรรยายเชิงพรรณนา Chiang Mai University ผลการศึกษาพบว่า ประชาชนมีความสนใจและ ให้ความสำคัญในการจะร่วมกันแก้ไขปัญหาป่าเสื่อมโทรมของการทำลายป่าที่เกิดขึ้น โดยได้มีการแสดงพลังของชุมชนผ่านการรวมกลุ่มกันขึ้นเพื่อวิเคราะห์ปัญหา และผลกระทบที่เกิดขึ้น เพื่อหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน โดยชุมชนได้มีการร่วมมือกันจัดทำแผนการดำเนินงานร่วมกัน โดยการตั้งข้อกำหนด บทบัญญัติและกฎหมายเพื่อให้การดำเนินงานของชุมชนเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับแผนที่ชุมชนตั้งเอาไว้เพื่อให้ป่าไม้ของชุมชนแม่ทาได้กลับมาอุดมสมบูรณ์อีกครั้ง โดยอาศัยความร่วมมือกันของทุกภาคส่วนและดำเนินงาน ทั้งการสร้างจิตสำนึรักบาพื้นป่าและร่วมกันดูแลป่าไม้ผ่านทางกิจกรรม โรงการต่างๆที่ร่วมกันสร้างขึ้น ผสมผสานกับประเพณีและวัฒนธรรมของชุมชนที่มีการปฏิบัติสืบทอดกันมาแต่อดีต โดยใช้หลักการทางพระพุทศาสนาเข้าไปเสริมในการปฏิบัติขึ้นในชุมชน อีกทั้งช่วยกันสอดส่องดูแลป้องกันไม่ให้มีการลักลอบตัดไม้ทำลายป่าและได้มีการจับกุมผู้กระทำความผิดส่งให้ภาครัฐเป็นผู้จัดการแทน บอกจากนี้ยังมีส่งสริมการสร้างอาชีพเข้ามาในชุมชน โดยใช้หลักของเศรษฐกิจพอเพียงเข้ามาพัฒนามากยิ่งขึ้นเพื่อลดการบุกรุกป่า เช่น การส่งเสริมให้มีการปลูกข้าวโพดผักอ่อน การเลี้ยงสัตว์ และการปลูกพืชกบตรแบบอินทรีย์ของประชาชนในพื้นที่ และส่งจำหน่ายนอกพื้นที่ชุมชน จึงทำให้ชุมชนตำบลแม่ทาได้กลายเป็นที่รู้จักของคนภายนอกมากขึ้นในด้านผลผลิดด้านการเกษตร สร้างรายได้ให้คนในพื้นและกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรไปด้วย ซึ่งจากปรากฏการณ์นี้สามารถกล่าวได้ว่าเป็นผลจากที่ชุมชนได้ร่วมมือร่วมใจกันในการคิดการสร้างแผนวางและแนวทางในการพัฒนาขึ้น จึงนำไปสู่การยกระดับด้านชีวิตและความเป็นอยู่ของคนในพื้นที่ต้องการเห็นผืนบำชุมชนแม่ทากลับมาอุดมสมบูรณ์อีกครั้ง ซึ่งเป็นตัวแปรหนึ่งที่นำความสำเร็จมาสู่ชุมชนตำบลแม่ท อำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งในปัจจุบันสิ่งที่ทางชุมชนตำบลแม่ทาต้องการ คือ หน่วยงานภาครัฐควรดำเนินการวางแผนงานร่วมกันกับชุมชนเพิ่มมากขึ้นตลอดจนถึงการกำหนดขอบเขตที่พื้นที่ป่าให้มีความชัดเจน และควรมีการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐระหว่างเขตจังหวัด เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการดูแลรักษาและพัฒนาร่วมกันต่อไปในอนาคตen_US
Appears in Collections:SOC: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590432012 ธวัชชัย อ้ายผง.pdf2.85 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.