Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72210
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรสริน โอสถานันต์กุล-
dc.contributor.advisorกาญจนา โชคถาวร-
dc.contributor.authorจิรานันท์ ตาดทองen_US
dc.contributor.authorJiranan Tadthongen_US
dc.date.accessioned2022-03-11T07:18:27Z-
dc.date.available2022-03-11T07:18:27Z-
dc.date.issued2020-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72210-
dc.description.abstractThis study under the topic "Operation of the Thai government's welfare smart card scheme in Mae Hoi Ngoen Sub-District, Doi Saket District, Chiang Mai Province” aims to (1) study terms and conditions of the use of government's welfare smart cards during the year 2016-2019, starting from July 1, 2016, to July 31, 2019, (2) to evaluate the satisfaction of people reflecting the overall operation of the government scheme in terms of usage and benefit, (3) to study the problems and obstacles encountered from the use of the welfare smart cards as well as some various suggestions. In this study, I utilized two types of data collection tools including: (1) questionnaires distributed to 385 people using the government’s welfare card in the Mae Hoi Ngoen area, Doi Saket District, Chiang Mai Province to evaluate their satisfaction, (2) interview conducted with 3 groups of the involved people (1) shop owners participating in the scheme (2) community leaders who play a significant role in the target areas (3) government agencies with an important role in the process of registering people having low income in the target areas. The study found that during the year 2016-2019 from July 1, 2016, to July 31, 2019, the government had provided 3 rounds of the register for low-income citizens to receive the government’s welfare support. The first round of registration was available from July 15, 2016, to August 15, 2016, the second round from April 3 to May 15, 2017, and the third round from July 12 – 31, 2018, respectively. The evaluation results of the overall operation of the use of the government welfare cards given to the Thais during the year 2016-2019 (from July 1, 2016 - July 31, 2019) indicated that the top 3 having highest satisfaction score included “the measures to financially support the Thais in 2019” with the highest level of satisfaction of 4.71, followed by “the continuation of the project” with an average satisfaction score of 4.53 And the last one is “the measures to financially support the Thais in 2018” with an average score of 4.50 As for my suggestions, (1) the government should survey the basic data of each area and adjust forms of the measures to suit the economic, social, and environmental conditions of each province in order to enable the welfare smart-card holders in remote areas to have the right to equally use them. (2)Flexibility in terms of using the card should be taken into account, for example, the remaining balance could be accumulated to be used the following month, or in case there is an unused amount of balance, it can turn into cash or increase the limit for purchase of products. (3) The personal database of low-income citizens should be updated and registered into the system every year or two. Moreover, the following issues should be implemented, (1) provision of a field survey in each area to recheck the accuracy of the information prior to the card approval, (2) consideration of household income and assets to be considered for giving the cards, (3) as well as the monitoring of current information of cardholders to adjust the personal database of low-income citizens to be accurate and reliable, namely, there might be some groups of people whose income exceeding the specified conditions or who may change the condition to be disabled or even the death case during the year.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectบัตรสวัสดิการแห่งรัฐen_US
dc.subjectความพอใจของผู้บริโภคen_US
dc.titleการดำเนินงานโครงการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐในพื้นที่ตำบล แม่ฮ้อยเงิน อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeImplementation of Welfare Card Scheme’s Project in Mae Hoi Ngoen Sub-district, Doi Saket District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาวิจัยเรื่อง “การดำเนินงานโครงการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐในพื้นที่ตำบลแม่ฮ้อยเงิน อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่” มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษารูปแบบและเงื่อนไขของการใช้บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ภายใต้โครงการประชารัฐสวัสดิการของรัฐบาลระหว่างปี พ.ศ. 2559-2562 เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2559 – 31 กรกฎาคม 2562 (2) ประเมินผลการดำเนินงานจากการใช้บัตรสวัสดิการแห่งรัฐที่นำไปใช้กับประชาชนจากความพึงพอใจของผู้ที่ได้รับประโยชน์ (3) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคที่พบจากการนำบัตรสวัสดิการแห่งรัฐไปใช้ ตลอดจนข้อเสนอแนะต่าง ๆ โดยการศึกษาในครั้งนี้ผู้วิจัยจะใช้เครื่องมือในการเก็บข้อมูล 2 แบบ คือ (1) การใช้แบบสอบแบบสอบถาม (Questionnaire) จากกลุ่มประชาชนผู้ใช้บัตรสวัสดิการแห่งรัฐจำนวน 385 คนในเขตพื้นที่ตำบล แม่ฮ้อยเงิน อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อประเมินผลความพึงพอใจ (2) การสัมภาษณ์ (Interview) สัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้อง 3 กลุ่ม (1) เจ้าของร้านค้าที่เข้าร่วมโครงการ (2) ผู้นำชุมชนผู้ที่มีบทบาทสำคัญในเขตพื้นที่เป้าหมาย (3) สัมภาษณ์หน่วยงานของรัฐที่มีบทบาทสำคัญในการดำเนินการรับลงทะเบียนผู้มีรายได้น้อยในเขตพื้นที่เป้าหมาย จากการศึกษาพบว่าระหว่างปี พ.ศ.2559-2562 ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ.2562 รัฐบาลได้เปิดโอกาสให้ประชาชนลงทะเบียนผู้มีรายได้น้อย เพื่อรับความช่วยเหลือภายใต้โครงการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ มาแล้วเป็นจำนวน 3 รอบ เริ่มจาก รอบที่ 1 มีระยะเวลาลงทะเบียนตั้งแต่วันที่ 15 กรกฎาคม 2559 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2559 รอบที่ 2 ระยะเวลาลงทะเบียนตั้งแต่วันที่ 3 เมษายน ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม 2560 และรอบที่ 3 มีระยะเวลาลงทะเบียน ตั้งแต่วนั ที่ 12 - 31 กรกฎาคม 2561 โดยผลการศึกษาการประเมินผลการดาํ เนินงานจากการใชบ้ ตั ร สวสั ดิการแห่งรัฐที่นาํ ไปใชก้ บั ประชาชนจากความพึงพอใจของผทูี้่ไดรั้บประโยชน์ ระหว่างปี พ.ศ. 2559-2562 (ต้งั แต่วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2559 – 31 กรกฎาคม 2562) พบว่าความพึงพอใจ 3 ลาํ ดับแรกที่ กลุ่มตวั อย่างพึงพอใจมากที่สุด ไดแ้ ก่ ดา้ นมาตรการให้ความช่วยเหลือประจาํ ปี 2562 โดยมีระดับ ความพึงพอใจในระดบั มากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.71) ลาํ ดบั ต่อมาคือ ใหโ้ ครงการดาํ เนินการต่อโดยมีระดบั ความพึงพอใจในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.53) และลำดับสุดท้ายคือ ด้านมาตรการให้ความ ช่วยเหลือประจำปี 2561 โดยมีระดบั ความพึงพอใจในระดบั มากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.50) ขอ้ เสนอแนะ (1) รัฐบาลควรสาํ รวจขอ้ มูลพื้นฐานของแต่ละพื้นที่ และปรับเปลี่ยนรูปแบบ มาตรการให้เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อมของแต่ละจังหวดั เพื่อให้ ประชาชนผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐในต่างจังหวัดได้ใช้สิทธินี้อย่างเสมอภาคเท่าเทียมกัน (2) กาํ หนดใหมี้ความยืดหยุ่นในการใชบ้ ตั ร เช่น สามารถสะสมวงเงินคงเหลือเพื่อนาํ ไปใชใ้ นเดือน ถดั ไปได้ กาํ หนดให้กรณีวงเงินใดในมาตรการที่ไม่ไดใ้ ชส้ ามารถเป็นเป็นเงินสดหรือเพิ่มเป็นวงเงิน ซื้อสินค้าแทนได้ (3) ควรมีการปรับฐานข้อมูลส่วนบุคคลของผูมี้รายได้น้อยให้เป็ นปัจจุบันและ ลงทะเบียนผูมี้รายได้น้อยทุกๆ ปี หรือ สองปี เพิ่มการลงพื้นที่สำรวจข้อมูลและตรวจสอบความ ถูกตอ้ งก่อนการพิจารณาให้บตั ร เพิ่มการพิจารณารายไดค้ รัวเรือน สินทรัพยค์ รัวเรือน ประกอบการ พิจารณาการใหบ้ ตั รสวสั ด์ิแห่งรัฐ และเพ่มิ การติดตามสาํ รวจขอ้ มูล ณ ปัจจุบนั ของผถูื้อบตั ร เพื่อปรับ ฐานขอ้ มูลส่วนบุคคลของผูมี้รายไดน้ ้อยให้ถูกตอ้ งตามสภาพความเป็นจริง เช่น บางรายในปี ต่อไป อาจมีรายไดเ้ กินเงื่อนไขที่กำหนด หรืออาจเปลี่ยนสภาพเป็ นผูพิ้การ หรือกรณีเสียชีวิตระหว่างปี เป็นต้นen_US
Appears in Collections:SOC: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590432002 จิรานันท์ ตาดทอง.pdf4.81 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.