Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72208
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChoocheep Puthaprasert-
dc.contributor.advisorYongyouth Yaboonthong-
dc.contributor.advisorTharn Thongngok-
dc.contributor.authorThanuttha Wudhiwanichen_US
dc.date.accessioned2022-03-07T07:57:05Z-
dc.date.available2022-03-07T07:57:05Z-
dc.date.issued2021-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72208-
dc.description.abstractThe objectives of the research entitled ―Development of a management model for the 4.0 era school for senior citizens under Chiang Mai city municipality‖, were as follows: Phase 1: To study and synthesize the components of a management model for the 4.0 era school for senior citizens under Chiang Mai city municipality in Thailand, data resources were 20 schools and key informants were 7 experts, instruments used were a component synthesis and a record form, data were analyzed by percentage and content analysis; Phase 2: To investigate the feasibility and guidelines of management for the 4.0 era school for senior citizens under Chiang Mai city municipality key informants were 19 experts, instrument used was an in-depth interview, data were analyzed by content analysis; Phase 3: To develop and verify a management model for the 4.0 era school for senior citizens under Chiang Mai city municipality, key informants were 21 experts, instruments used were a draft model, a meeting record from, a verification form, and an evaluation form, data were analyzed by summarizing, mean and standard deviation, percentage; and Phase 4: To study the implementation results of a management model for the 4.0 era school for senior citizens under Chiang Mai city municipality, key informants were senior citizens under Chiang Mai city municipality and relevant persons, instruments used were a meeting record, an operational record form, an observational form, and an open-ended question form, data were analyzed by summarizing, content analysis, and descriptive analysis. Results of the research were found as follows: Phase 1: Results of studying and synthesizing the management components in step 1.1 consisted of 6 components and 31 sub-components, step 1.2 consisted of 6 components and 39 sub-components. Phase 2: The investigation results of the feasibility and guidelines consisted of 6 components and 36 sub-components. Phase 3: Results of developing a management model for the 4.0 era school for senior citizens under Chiang Mai city municipality was named ROO(pdca)MCF model, consisting of 6 components as follows: 3.1) rationale, 3.2) objectives, 3.3) operational procedures, 3.4) management structure and mechanism, 3.5) curriculum and learning management, and 3.6) factors for achievement; verification results of the management model in section 1 had the correction and suitability, evaluation results in section 2, the possibility and the utility were at the highest level. Phase 4: The implementation results were found that a complete management model for the 4.0 era school for senior citizens under Chiang Mai city municipality consisted of R-O-(PDCA)FSC could be applied in practice with an operational guideline in the model of a participatory management and administrative processes in terms of a Deming Cycle of PDCA. These would help the operations in all areas more effective and efficient productivity. There were the operational procedures in accordance with the guidelines for the educational development for quality senior citizens. Moreover, there would be the guidelines to support the effective model implementation through collaboration among administrators, practitioners, senior citizens, students, and the community, as well as the stakeholders who had contributed to success, achieved the goals. There would be benefits to educational institutions, teachers, learners (senior citizens, students) and communities effecting to the educational development for the senior citizen society of the nation in the future.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectรูปแบบen_US
dc.subjectการบริหารจัดการen_US
dc.subjectโรงเรียนผู้สูงอายุยุค 4.0en_US
dc.subjectเทศบาลนครเชียงใหม่en_US
dc.subjectModelen_US
dc.subjectmanagementen_US
dc.subjectthe 4.0 era school for senior citizensen_US
dc.subjectChiang Mai city municipalityen_US
dc.titleDevelopment of a management model for the 4.0 era school for senior citizens under Chiang Mai City municipalityen_US
dc.title.alternativeการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนผู้สูงอายุยุค 4.0 สังกัดเทศบาลนครเชียงใหม่en_US
dc.typeThesis-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนผู้สูงอายุยุค 4.0 สังกัดเทศบาลนครเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์การวิจัย คือ ขั้นตอนที่ 1 เพื่อศึกษาและสังเคราะห์องค์ประกอบของ การบริหารจัดการโรงเรียนผู้สูงอายุในประเทศไทย แหล่งข้อมูล คือ 20 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ 7 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ ตารางสังเคราะห์กับแบบบันทึก สถิติ ที่ใช้ คือ ค่าร้อยละและวิเคราะห์เนื้อหา ขั้นตอนที่ 2 เพื่อศึกษาความเป็นไปได้และแนวทางใน การบริหารจัดการโรงเรียนผู้สูงอายุยุค 4.0 สังกัดเทศบาลนครเชียงใหม่ ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ 19 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก สถิติที่ใช้ คือ วิเคราะห์เนื้อหา ขั้นตอนที่ 3 เพื่อพัฒนาและตรวจสอบรูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนผู้สูงอายุยุค 4.0 สังกัดเทศบาลนครเชียงใหม่ ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ 21 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ ร่างรูปแบบ บันทึกการประชุม แบบตรวจสอบ แบบประเมิน สถิติที่ใช้ คือ สรุป ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าร้อยละ ขั้นตอนที่ 4 เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนผู้สูงอายุยุค 4.0 สังกัดเทศบาลนครเชียงใหม่ ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้สูงอายุ สังกัดเทศบาล นครเชียงใหม่ และผู้เกี่ยวข้อง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบบันทึกการประชุม แบบบันทึกการดาเนินงาน แบบสังเกต และแบบคาถามปลายเปิด สถิติที่ใช้ คือ สรุป วิเคราะห์เนื้อหา และวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลจากการวิจัย พบว่า ขั้นตอนที่ 1 ผลการศึกษาและสังเคราะห์องค์ประกอบของการบริหารจัดการโรงเรียนผู้สูงอายุในประเทศไทย ประกอบด้วย ขั้นที่ 1.1 ผลการสังเคราะห์องค์ประกอบ ได้ 6 องค์ประกอบ 31 องค์ประกอบย่อย ขั้นที่ 1.2 ผลการยืนยันองค์ประกอบ ได้ 6 องค์ประกอบ 39 องค์ประกอบย่อย ขั้นตอนที่ 2 ผลการศึกษาความเป็นไปได้และแนวทางในการบริหารจัดการโรงเรียนผู้สูงอายุยุค 4.0 สังกัดเทศบาลนครเชียงใหม่ พบว่า ได้ 6 องค์ประกอบ 36 องค์ประกอบย่อย ขั้นตอนที่ 3 ผลการพัฒนาและตรวจสอบรูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนผู้สูงอายุยุค 4.0 สังกัดเทศบาลนครเชียงใหม่ ได้รูปแบบ ROO(pdca)MCF ประกอบด้วย องค์ประกอบที่ 1 ด้านหลักการและเหตุผล องค์ประกอบที่ 2 ด้านวัตถุประสงค์ องค์ประกอบที่ 3 ด้านขั้นตอน การดาเนินงาน องค์ประกอบที่ 4 ด้านโครงสร้างและกลไกการบริหารงาน องค์ประกอบที่ 5 ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ และองค์ประกอบที่ 6 ด้านปัจจัยแห่งความสาเร็จ ส่วนผลตรวจสอบรูปแบบมีความถูกต้อง และมีความเหมาะสม และผลการประเมิน ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์อยู่ในระดับที่มากที่สุด ขั้นตอนที่ 4 ผลการศึกษาผลการใช้รูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนผู้สูงอายุยุค 4.0 สังกัดเทศบาลนครเชียงใหม่ พบว่า รูปแบบที่สมบูรณ์การบริหารจัดการโรงเรียนผู้สูงอายุยุค 4.0 สังกัดเทศบาลนครเชียงใหม่ ประกอบด้วย R-O-(PDCA)FSC สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติได้จริง โดยมีแนวทางการดาเนินงานในรูปแบบการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม และกระบวนการบริหารในรูปแบบวงจรคุณภาพ PDCA ได้เป็นอย่างดี ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะช่วยให้การดาเนินงานในทุกด้านมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล มีขั้นตอนการดาเนินงาน ที่ตรงตามแนวทางการพัฒนาการศึกษาของผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ นอกจากนี้ ยังเป็นแนวทางที่จะสนับสนุนให้การใช้รูปแบบเกิดประสิทธิภาพจากความร่วมมือกันระหว่าง ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติ ผู้สูงอายุ นักเรียน และชุมชน รวมถึง ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่มีส่วนทาให้ประสบผลสาเร็จ บรรลุเป้าหมาย เกิดประโยชน์ต่อสถานศึกษา ครู ผู้เรียน (ผู้สูงอายุ นักเรียน) และชุมชน ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาทางการศึกษาเพื่อสังคมผู้สูงอายุของชาติต่อไปen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590252002 ธนัฏฐา วุฒิวณิชย์.pdf4.38 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.