Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72156
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประสิทธิ์ ลีปรีชา-
dc.contributor.advisorขวัญชีวัน บัวแดง-
dc.contributor.authorรักชนก มาไพศาลกิจen_US
dc.date.accessioned2021-09-10T03:58:54Z-
dc.date.available2021-09-10T03:58:54Z-
dc.date.issued2020-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72156-
dc.description.abstractThe study of “Accessibility for Educational Services of Stateless Students in Sahasartsuksa School, Chiangrai Province” has its purposes of study which were (1) to study and analyze the opportunities, problems and obstacles that stateless students can be accessed to educational services (2) to study government and school’s administrators’ policies which support educational services of stateless students (3) to guide solutions that may increase opportunities to access into educational services by interviewing school personnel (headmaster, teachers, stateless students), and outsiders (NGOs). For data analysis, those were based on legal citizenship concept to consider 3 issues; First, governmental policies and practices. Second, supporting stateless students via Sahasartsuksa school. And last, Action of NGOs to solve problems and help students get through obstacles. We represented that governmental policies and practices are essential parts to let stateless students have civil registration and status but practically, there are many obstacles such as insufficient government staffs who are in charge in this issues or other negative attitude to stateless students. For school management, administrators created policies and encourage the students and follow up the result. Moreover, this school provided the education without any fee and NGOs always give advices. From sample group of Sahasartsuksa stateless students have once asked for citizenship but they don’t have enough evidences. This sample group is virtual Thai people. In conclusion, the problems and obstacles of them are not about living, in contrast, it’s about getting equal human rights as those who have legal citizenship. Suggestions: (1) Public or other schools where have the same context with Sahasartsuksa school should establish emergency fund for helping stateless students who can’t reach several rights. (2 ) Many schools should have cooperation between community’s leaders, guardians and especially NGOs. To give students advices and help them about process of getting citizenship. (3) In terms of academic, this research studies in case of school, so researcher suggests others to study about life of stateless students after they graduate from school.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectไร้สัญชาติen_US
dc.subjectบริการทางการศึกษาen_US
dc.subjectนานาชาติพันธุ์en_US
dc.subjectพลเมืองen_US
dc.subjectStatelessen_US
dc.subjectEducational servicesen_US
dc.subjectVarious ethnicsen_US
dc.subjectCitizenshipen_US
dc.titleการเข้าถึงบริการด้านการศึกษาของนักเรียนไร้สัญชาติในโรงเรียนสหศาสตร์ศึกษา จังหวัดเชียงรายen_US
dc.title.alternativeAccessibility for educational services of stateless students in Sahasartsuksa School, Chiang Rai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.classification.ddc371.21-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียน -- การบริหาร -- เชียงราย-
thailis.controlvocab.thashนักเรียน -- เชียงราย-
thailis.controlvocab.thashคนต่างด้าว -- เชียงราย-
thailis.controlvocab.thashคนต่างด้าว -- การเรียน-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 371.21 ร111ก 2563-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาวิจัยเรื่อง “การเข้าถึงบริการทางการศึกษาของนักเรียนไร้สัญชาติโรงเรียนสห ศาสตร์ศึกษา จังหวัดเชียงราย” มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาและวิเคราะห์โอกาส ปัญหา และ อุปสรรคในการเข้าถึงบริการด้านการศึกษาในสถานศึกษาของนักเรียนไร้สัญชาติ (2) เพื่อศึกษา นโยบายของรัฐและผู้บริหารต่อการสนับสนุนบริการการศึกษาของนักเรียน และ (3) เพื่อเสนอ แนวทางในการเพิ่มโอกาสเข้าถึงบริการด้านการศึกษาของนักเรียนไร้สัญชาติ โดยสัมภาษณ์ บุคลากรภายในโรงเรียน (ผู้บริหาร ครู และนักเรียน) และบุคคลภายนอก (องค์กรพัฒนาเอกชน) และนาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์กับความเป็ นพลเมือง ใน 3 ประเด็น ดังนี้ หนึ่ง นโยบายและ ปฏิบัติการของรัฐ สอง การช่วยเหลือนักเรียนไร้สัญชาติจากโรงเรียนสหศาสตร์ศึกษา สาม การ ทำงานขององค์กรพัฒนาเอกชน งานวิจัยนี้นำเสนอนโยบายและปฏิบัติการของรัฐมีส่วนสาคัญให้ นักเรียนไร้สัญชาติได้รับสถานะทางทะเบียน แต่ยังมีอุปสรรค เช่น เจ้าหน้าที่รัฐไม่เพียงพอหรือ ทัศนคติเชิงลบต่อคนไร้สัญชาติ เป็นต้น ผู้บริหารโรงเรียนมีนโยบายช่วยเหลือ และติดตามผลให้ นักเรียนดำเนินการขอสัญชาติ นอกจากนี้ยังให้นักเรียนศึกษาฟรี และองค์กรพัฒนาเอกชนยังคอยให้ คำแนะนำเสมอ นักเรียนล้วนเคยขอสญั ชาติไทย แต่ยังมีหลักฐานไม่เพียงพอ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างเหล่านี้ ล้วนเป็นเสมือนคนไทย ดังนั้นปัญหาและอุปสรรคของนักเรียนมิใช่เรื่องการดำรงชีวิต แต่เป็นการ ได้รับสิทธิเช่นเดียวกับคนมีสัญชาติ ทั้งหมดนี้ผู้วิจัยใช้แนวคิดสิทธิมนุษยชนและแนวคิดความเป็น พลเมืองมาเป็นกรอบทำการวิเคราะห์ 1) โรงเรียนรัฐบาล หรือโรงเรียนอื่นควรมีการจัดตั้งกองทุนฉุกเฉินเพื่อช่วยเหลือนักเรียน ไร้สัญชาติที่เข้าไม่ถึงสิทธิหลาย ๆ เช่นเดียวกับนักเรียนมีสัญชาติทั่วไป 2) ความร่วมมือระหว่างผู้บริหารโรงเรียนสหศาสตร์ศึกษา เจ้าหน้าที่องค์กรพัฒนเอกชน ผู้นาชุมชน และผู้ปกครองนักเรียน ผู้วิจัยจึงเสนอแนะให้โรงเรียนอื่นที่นักเรียนไร้สัญชาติทางาน ร่วมกับองค์กรพัฒนาเอกชนด้านสัญชาติ เพื่ออบรม ให้ข้อแนะนำและช่วยในกระบวนการเร่งรัด การออกสัญชาติของหน่วยงานปกครองในท้องถิ่น 3) ในแง่มุมทางวิชาการ งานศึกษาครั้งนี้ศึกษาในเรื่องนักเรียนไร้สัญชาติในโรงเรียน จึง เสนอแนะให้มีการศึกษาในประเด็นเรื่องชีวิตหลังจากสาเร็จการศึกษาในโรงเรียน หรือเรื่องความ มั่นคงในชีวิตหลังจากสาเร็จการศึกษาen_US
Appears in Collections:SOC: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610432011 รักชนก มาไพศาลกิจ.pdf1.2 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.