Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72150
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณฐิตากานต์ พยัคฆา-
dc.contributor.advisorภาณุพันธุ์ ประภาติกุล-
dc.contributor.advisorฟ้าไพลิน ไชยวรรณ-
dc.contributor.authorวีร์สุดา ศรีจันทร์en_US
dc.date.accessioned2021-09-10T03:39:33Z-
dc.date.available2021-09-10T03:39:33Z-
dc.date.issued2020-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72150-
dc.description.abstractThe objectives of this research were to study some of basic personal characteristics, some economic and social aspects of farmers using Site-specific Fertilizer Management. To study the factors influencing the adoption of tailor-made fertilizer technology and the issues, needs and suggestions of farmers on Site-specific Fertilizer Management in Phan District, Chiang Rai Province. This research, the researcher collected data from the sample group were farmers who passed the training courses in the use of Site-specific Fertilizer Management from the Phan District Agriculture office, Mae Or Subdistrict Administration Organization Office, Chiangrai Rice Research Center and Chiang Rai Land Development Station in 2018 number of 142 persons. Data were collected by using interview forms with the reliability of 0.892 during the period from May to July 2019. Data were analyzed using descriptive statistics such as frequency, percentage, maximum, minimum, mean and standard deviation. Analyze the relationship between independent variables and dependent variables by multiple regression analysis (Enter Multiple Regression Analysis) The results showed that the majority of farmers are males with an average age of 52.90 years. Most of them completed primary education, an average of 24.12 years of experience in rice farming. Farmers' average income in 2018 is 4,133.63 Baht. Farmer still owes a household debt. There is 2.37 average household labor and additional labor. Farmers have an average agricultural area of 16.32 rai and most of them have rights documents. Most farmers do not have a social rank but they are other network members that can contact with relevant staff an average of 1 time per month. The average perception of news about the Site-specific Fertilizer Management was 2 sources. The average training of farmers was 1.58. Farmers were had knowledgeable about Site-specific Fertilizer Management overview at a high level and have an attitude about Site-specific Fertilizer Management overview at a positive attitude level. The study of factors affecting the acceptance of the results on the acceptance of Site-specific Fertilizer Management of rice farmer in Phan District, Chiang Rai Province. That the factors are related to the acceptance of Site-specific Fertilizer Management for rice farmers there are 3 independent variables which are the number of workers in the household in 2018 the receiving information Site-specific Fertilizer Management in 2018 and the attitudes of farmers to Site-specific Fertilizer Management in 2018 significance affected the acceptance of customized rice-grower fertilizer technology (p<0.01) Problems, needs and suggestions the implementation, found that farmers have a problem with the cost of soil test kit is high expensive. The place to buy the soil test kit cannot be purchased in community. Lack of information and knowledge about soil series. And lack of experience in reading values and compare the color bar to determine the amount of N P K in the soil, which is important to the accuracy and precision. The needs of farmers are training on Site-specific Fertilizer Management on a continuous basis in order to create a continuity of information and knowledge of soil series. Farmers needs the soil test kit to cheap price. And there is a suggestion that to have the government and private sectors support the soil test kit. To have a group to establish community shops in the form of a cooperative, sell the soil test kit and fertilizers at member prices. And dividing the participants training on Site-specific Fertilizer Management at sub-groups for everyone to practice.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการจัดการปุ๋ยเฉพาะพื้นที่ (ปุ๋ยสั่งตัด) ของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในอำเภอพาน จังหวัดเชียงรายen_US
dc.title.alternativeFactors affecting rice farmer adoption of site-specific fertilizer management in Phan District, Chiang Rai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc631.8-
thailis.controlvocab.thashปุ๋ย -- เชียงราย-
thailis.controlvocab.thashปุ๋ย -- การจัดการ-
thailis.controlvocab.thashเกษตรกร -- เชียงราย-
thailis.controlvocab.thashข้าว -- การปลูก-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 631.8 ว378ป 2563-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะพื้นฐานส่วนบุคคล เศรษฐกิจ และสังคม บางประการของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวต่อการจัดการปุ๋ยเฉพาะพื้นที่ (ปุ๋ยสั่งตัด) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อ การยอมรับการจัดการปุ๋ยเฉพาะพื้นที่ (ปุ๋ยสั่งตัด) และศึกษาปัญหา ความต้องการ และข้อเสนอแนะ ของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวต่อการจัดการปุ๋ยเฉพาะพื้นที่ (ปุ๋ยสั่งตัด)ในอาเภอพาน จังหวัดเชียงราย ในการวิจัยนี้ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็ นเกษตรกรผู้ปลูกข้าว อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย ที่ได้รับการถ่ายทอดการจัดการปุ๋ยเฉพาะพื้นที่ (ปุ๋ยสั่งตัด) จากสานักงานเกษตร อำเภอพาน องค์การบริหารส่วนตำบลแม่อ้อ ศูนย์วิจัยข้าวเชียงราย และพัฒนาที่ดินจังหวัดเชียงราย ใน ปี พ.ศ. 2561 จานวน 142 ราย วิธีการเก็บข้อมูลใช้แบบสัมภาษณ์ที่มีค่าความเชื่อมั่น 0.892 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม โดยใช้การ วิเคราะห์ถดถอยพหุแบบคัดเลือกเข้าทั้งหมด (Enter Multiple Regression Analysis) ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 52.90 ปี ส่วนใหญ่ จบการศึกษาในระดับประถมศึกษา มีประสบการณ์ในการปลูกข้าวเฉลี่ย 24.12 ปี เกษตรกรมีรายได้ จากการจาหน่ ายข้าว ปี พ.ศ 2561 เฉลี่ ย 4,774.47 บาท ยังคงมีภาระหนี้ คงค้าง มี แรงงาน ในครัวเรือนเฉลี่ย 2.37 ราย มีการจ้างแรงงานเพิ่ม เกษตรกรมีจำนวนพื้นที่ทานาเฉลี่ย 16.32 ไร่ และส่วนใหญ่เป็ นพื้นที่มีเอกสารสิทธ์ิ เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่มีตำแหน่งทางสังคม แต่เป็ นสมาชิก เครือข่ายกลุ่มอื่น ๆ มีการติดต่อกับเจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานของรัฐมากที่สุด เฉลี่ยเดือนละ 1 ครั้ง การรับรู้ข้อมูลข่าวสารการจัดการปุ๋ยเฉพาะพื้นที่ (ปุ๋ยสั่งตัด) เฉลี่ย 2 แหล่งข่าว ส่วนใหญ่เกษตรกร ผ่านการฝึ กอบรมการจัดการปุ๋ยเฉพาะพื้นที่ (ปุ๋ยสั่งตัด) เฉลี่ย 1.58 ครั้ง เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับการจัดการปุ๋ยเฉพาะพื้นที่ (ปุ๋ยสั่งตัด) อยู่ในระดับสูง และเกษตรกรมีทัศนคติต่อการจัดการปุ๋ย เฉพาะพื้นที่ (ปุ๋ยสั่งตัด) โดยภาพรวมอยู่ในระดับทัศนคติเชิงบวก ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการยอมรับการจัดการปุ๋ย เฉพาะพื้นที่ (ปุ๋ยสั่งตัด) ของเกษตรกรผู้ปลูกข้าว มีตัวแปรอิสระ จำนวน 3 ตัวแปร คือ จำนวนแรงงาน ในครัวเรือน ปี พ.ศ. 2561 การรับรู้ข่าวสารเรื่องการจัดการปุ๋ยเฉพาะพื้นที่ (ปุ๋ยสั่งตัด) และทัศนคติของ เกษตรกรต่อการจัดการปุ๋ยเฉพาะพื้นที่ (ปุ๋ยสั่งตัด) ซึ่งมีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อการยอมรับการจัดการ ปุ๋ยเฉพาะพื้นที่ (ปุ๋ยสั่งตัด) ของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.01) ปัญหา ความต้องการ และข้อเสนอแนะของเกษตรกร พบว่า เกษตรกรมีปัญหาเรื่องราคาชุด น้ำยาตรวจสอบปริมาณ N P K ในดินมีราคาสูง ทำให้เป็นการเพิ่มต้นทุนการผลิต แหล่งซื้อชุดน้ำยา ตรวจสอบปริมาณ N P K ในดินไม่สามารถหาซื้อได้ในร้านค้าในชุมชนหรือร้านทั่วไป ขาดข้อมูล และความรู้เกี่ยวกับชุดดิน และขาดประสบการณ์ในการอ่านค่า และเปรียบเทียบแถบสี ในการตรวจสอบปริมาณ N P K ในดิน ซึ่งเป็ นสิ่งที่สาคัญที่ทาให้เกิดความถูกต้องและแม่นยา ความต้องการของเกษตรกร คือ ต้องการจัดอบรมเรื่องการจัดการปุ๋ยเฉพาะพื้นที่ (ปุ๋ยสั่งตัด) อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องในการปฏิบัติ ต้องการข้อมูลและความรู้เรื่องชุดดิน เกษตรกร ต้องการให้ราคาชุดน้ำยาตรวจสอบปริมาณ N P K ในดินมีราคาถูกลง และต้องการให้มีการรวมกลุ่ม ของเกษตรกรผู้ปลูกข้าว เพื่อลดต้นทุนในการซื้ อชุดน้ ายาตรวจสอบปริมาณ N P K ในดิน และมีข้อเสนอแนะให้ภาครัฐและภาคเอกชนสนับสนุนชุดน้ ายาตรวจสอบปริมาณ N P K ในดิน ให้มีการรวมกลุ่มจัดตั้งร้านค้าชุมชนในรูปแบบสหกรณ์ เพื่อจำหน่ายชุดน้ ายาตรวจสอบปริมาณ N P K ในดิน และแม่ปุ๋ย ในราคาสมาชิก และแบ่งผู้เข้าอบรมการจัดการปุ๋ยเฉพาะพื้นที่ (ปุ๋ยสั่งตัด) เป็นกลุ่มย่อย เพอื่ ให้ทุกคนได้ปฏิบัติจริงen_US
Appears in Collections:AGRO: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600832038 วีร์สุดา ศรีจันทร์.pdf1.7 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.