Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72119
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนพพล อาชามาสen_US
dc.date.accessioned2021-04-23T08:50:40Z-
dc.date.available2021-04-23T08:50:40Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationนิติสังคมศาสตร์ 12, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2562), 1-39en_US
dc.identifier.issn2672-9245en_US
dc.identifier.urihttps://so01.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/190401/159309en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72119-
dc.descriptionCMU Journal of Law and Social Sciences รับพิจารณาบทความวิชาการ และบทปริทัศน์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยขอบเขตเนื้อหาทางวิชาการของCMU Journal of Law and Social Sciences จะครอบคลุมเนื้่อหา เกี่ยวกับกฎหมายทุกสาขา เช่น กฎหมายมหาชน กฎหมายเอกชน กฎหมายอาญา กฎหมายระหว่างประเทศ เป็นต้น ซึ่งสัมพันธ์กับความรู้ทางด้านสังคมศาสตร์ในสาขาต่างๆen_US
dc.description.abstractบทความชิ้นนี้พิจารณาประกาศ/คำสั่งของคณะรัฐประหารไทย เรื่องการห้ามมั่วสุมชุมนุมทางการเมืองตั้งแต่ห้าคนขึ้นไป ในฐานะเครื่องมือหนึ่งในการปราบปรามทางการเมืองโดยรัฐ (State Repression) โดยศึกษาพัฒนาการและความเปลี่ยนแปลงของการออกคำสั่งลักษณะนี้หลังการรัฐประหารแต่ละครั้งในประวัติศาสตร์การเมืองไทย ชี้ให้เห็นความต่อเนื่องของการใช้เครื่องมือนี้เพื่อควบคุมอำนาจหลังการรัฐประหาร และการทำให้เสรีภาพในการชุมนุมกลายเป็น “อาชญากรรม” ที่มีความผิดทางอาญา จนกลายเป็นเรื่องปกติหลังการเข้ายึดอำนาจทางการเมืองของกองทัพทุกครั้ง บทความนี้ยังพิจารณาลักษณะของการใช้คำสั่งนี้ในยุคของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ซึ่งมีการบังคับใช้อย่างเข้มข้นที่สุดเมื่อเทียบกับการรัฐประหารทุกครั้งที่ผ่านมา โดยชี้ให้เห็นเป้าหมายของการใช้คำสั่งที่ถูกทำให้กลายเป็น “กฎหมาย” ในการปราบปรามการคัดค้านการรัฐประหาร การควบคุมการชุมนุมแสดงออกต่อการใช้อำนาจหรือการบริหารประเทศของรัฐบาลทหาร การใช้กฎหมายปิดกั้นแทรกแซงกิจกรรมสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมทั้งการใช้กฎหมายสร้างภาระหรือต้นทุนในการออกมาแสดงออกให้กับพลเมืองในสังคม This article considered Thai military junta orders to ban political gatherings of five or more people as a state repression tool. It aimed to investigate the development and change of the orders of different Thai military juntas to reveal the continuity of utilization of this tool for power control after each coup and criminalization of the freedom of assembly so that this became a normal practice after each military coup. This article also considered the enforcement of this order under the administration of the National Council for Peace and Order (NCPO), when the order was the most intensively enforced when compared with previous coups. This showed their goal of applying this order, which became a law on suppressing the opposition to the coup, controlling the assembly against the military junta’ power exercising and administration, prohibiting or intervening in public activities, and creating burdens or costs in relation to expressions for activists or politically-active citizens.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectห้ามชุมนุมทางการเมืองen_US
dc.subjectการปราบปรามโดยรัฐen_US
dc.subjectการปราบปรามทางการเมืองen_US
dc.subjectคำสั่งคณะรัฐประหารen_US
dc.subjectเสรีภาพในการชุมนุมen_US
dc.subjectBan on Political Gatheringsen_US
dc.subjectState Repressionen_US
dc.subjectPolitical Repressionen_US
dc.subjectJunta Orders and Announcementsen_US
dc.subjectFreedom of Assemblyen_US
dc.titleพินิจคำสั่ง “ห้ามมั่วสุมชุมนุมทางการเมือง” ของคณะรัฐประหารไทย ในฐานะเครื่องมือการปราบปรามโดยรัฐen_US
dc.title.alternativeConsider Military Junta’s Order to Ban of Political Gatherings as State Repression in Thailanden_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.