Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72050
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวริษฐ์ หิรัญภัทรโรจน์en_US
dc.contributor.authorสหลาภ หอมวุฒิวงศ์en_US
dc.date.accessioned2021-04-23T08:50:38Z-
dc.date.available2021-04-23T08:50:38Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 27, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2563), 102-111en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttps://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/27_3/09.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72050-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 2 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายในการปรับปรุงสมบัติของจีโอโพลิเมอร์ที่ผลิตจากเถ้าชานอ้อย โดยนำเถ้าชานอ้อยดั้งเดิม และเถ้าชานอ้อยเผาซ้ำ มาทำการบดให้มีความละเอียดสูงขึ้น เถ้าชานอ้อยทั้งสองชนิดถูกแทนที่ด้วยปูนซีเมนต์บางส่วนเพื่อ ใช้เป็นสารตั้งต้น ทำการผสมและหล่อตัวอย่างมอร์ต้าร์ มีการเติมน้ำ และสารลดน้ำ พิเศษในส่วนผสม จากนั้นนำไปแยกบ่ม ด้วย 2 วิธี คือบ่มที่อุณหภูมิสูง 75±5 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 48 ชั่วโมงและการบ่มในน้ำที่อุณหภูมิห้องตลอดอายุ การทดสอบ พบว่าการใช้ปูนซีเมนต์แทนที่เถ้าชานอ้อยส่งผลให้จีโอโพลิเมอร์มีการพัฒนาด้านความแข็งแรง โดยกำลังรับ แรงอัดของ มอร์ต้าร์สูงกว่า 40 เมกะปาสคาล ที่อายุ28 วัน การใช้เถ้าชานอ้อยที่ผ่านการเผาซ้ำ มีแนวโน้ม ในการตอบสนองต่อการพัฒนาจีโอโพลิเมอร์ดีกว่า เถ้าชานอ้อยดั้งเดิม การบ่มในน้ำทำ ให้จีโอโพลิเมอร์กำลังค่อนข้างต่ำ ในอายุต้น แต่สามารถพัฒนาได้เทียบเท่าการบ่มที่อุณหภูมิสูงเมื่อระยะเวลาการบ่มตัวอย่างในน้ำ นานกว่า 28 วัน การเติมน้ำ ช่วยเพิ่มความสามารถ ในการทำงานได้ของส่วนผสม ส่วนการใช้สารลดน้ำพิเศษจะทำให้กำลังรับแรงอัดของจีโอโพลิเมอร์มอร์ต้าร์ลดลง The aims of this research are to improve the properties of geopolymer made from bagasse ash. The original and re-burned bagasse ashes were ground to increase the fineness. Bagasse ashes were partially replaced by Portland cement and used as source materials. Mortar samples were mixed and cast, water and superplasticizer were applied in the mixtures. Samples were cured by 2 methods; high temperature curing at 75±5 °C for 48 hours and water curing at room temperature until the testing age. It was found that the use of Portland cement replaced bagasse ash assists the geopolymer to develop in strength. The compressive strength of mortar was higher than 40 MPa at 28 days. The re-burned of bagasse ashes tended to respond the development better than the original bagasse ash. Curing in water exhibited the low strength of geopolymer at early age. However, the sample can be developed to the same level as curing in high temperature when the curing period in water was more than 28 days. The adding water increased the workability of the mixtures. The using of superplasticizer affected the reduction of compressive strength of geopolymer mortar.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectจีโอโพลิเมอร์en_US
dc.subjectเถ้าชานอ้อยen_US
dc.subjectปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์เผาซ้ำen_US
dc.subjectกำลังรับแรงอัดen_US
dc.subjectสารลดน้ำพิเศษen_US
dc.subjectGeopolymeren_US
dc.subjectBagasse ashen_US
dc.subjectPortland cementen_US
dc.subjectRe- burneden_US
dc.subjectCompressive strengthen_US
dc.titleการพัฒนาจีโอโพลิเมอร์ที่ผลิตจากเถ้าชานอ้อยen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Geopolymer Made from Bagasse Ashen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.