Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72035
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ดรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล | en_US |
dc.date.accessioned | 2021-04-23T08:50:35Z | - |
dc.date.available | 2021-04-23T08:50:35Z | - |
dc.date.issued | 2562 | en_US |
dc.identifier.citation | นิติสังคมศาสตร์ 12, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2562), 157-178 | en_US |
dc.identifier.issn | 2672-9245 | en_US |
dc.identifier.uri | https://so01.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/207977/159328 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72035 | - |
dc.description | CMU Journal of Law and Social Sciences รับพิจารณาบทความวิชาการ และบทปริทัศน์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยขอบเขตเนื้อหาทางวิชาการของCMU Journal of Law and Social Sciences จะครอบคลุมเนื้่อหา เกี่ยวกับกฎหมายทุกสาขา เช่น กฎหมายมหาชน กฎหมายเอกชน กฎหมายอาญา กฎหมายระหว่างประเทศ เป็นต้น ซึ่งสัมพันธ์กับความรู้ทางด้านสังคมศาสตร์ในสาขาต่างๆ | en_US |
dc.description.abstract | นับเป็นระยะเวลายาวนานที่การถูกนับรวมเป็นพลเมืองได้กลายเป็นฝันร่วม-ที่เดินไกลของคนไร้สัญชาติ (Stateless Person) กลุ่มต่างๆ ในประเทศไทย เหตุผลหลักประการหนึ่งนั้นสืบเนื่องจากแนวคิดเรื่องความมั่นคงของชาติที่ส่งผลต่อแนวคิดในการกำหนดเงื่อนไขการได้มา-เสียไป-กลับคืน ในกฎหมายว่าด้วยสัญชาติของประเทศไทย นับตั้งแต่พ.ร.บ.แปลงชาติ พ.ศ.2454 จนถึงกฎหมายสัญชาติฉบับปัจจุบันคือพ.ร.บ.สัญชาติ พ.ศ.2508 ซึ่งมีการแก้ไขปรับปรุง ในปีพ.ศ. 2515, พ.ศ. 2535, พ.ศ. 2551 และพ.ศ. 2555 โดยการแก้ไขกฎหมายแต่ละครั้งได้สร้างความเปลี่ยนแปลงทั้งในเชิงลดทอนและเปิดกว้างโอกาสการเข้าถึงสัญชาติไทย โดยเฉพาะการมีสัญชาติไทยตามหลักดินแดน (Jus Soli) นอกจากนี้นโยบายของรัฐบาลแต่ละช่วงเวลา (มติคณะรัฐมนตรี) ยังมีส่วนอย่างสำคัญต่อการกำหนดเกณฑ์และเงื่อนไขต่างๆ ในวาระครบรอบสามสิบปีของการเกิดขึ้นของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (Convention on Rights of the Child) ซึ่งผูกพันประเทศไทยในฐานะรัฐภาคี บทความฉบับนี้จึงมุ่งทบทวนถึงความเปลี่ยนแปลงของกฎหมาย นโยบายของรัฐไทยในการยอมรับนับรวมเด็ก (และอดีตเด็ก) ไร้สัญชาติเข้าเป็นพลเมืองตามกฎหมาย โดยเฉพาะ “พลเมืองโดยหลักดินแดน” ข้อสรุปก็คือ เดิมประเทศไทยมีนโยบายเปิดกว้างรับคนต่างชาติเข้าเป็นพลเมืองไทยโดยหลักดินแดน โดยไม่คำนึงถึงลักษณะการเข้าเมือง ดังนั้นคนอพยพย้ายถิ่นกลุ่มต่างๆ ที่เข้าเมืองโดยปราศจากเอกสารการเข้าเมืองที่ถูกต้อง ก็มีโอกาสเข้าถึงสิทธิในสัญชาติไทย จนกระทั่งความเปลี่ยนแปลงของกฎหมายนโยบายในปี 2496, ปี 2515 และที่สำคัญในปี 2535 ที่อาจกล่าวได้ว่าเป็นจุดเปลี่ยนที่ส่งผลให้เกิดสภาวะไร้สัญชาติอย่างสืบเนื่องจนถึงปัจจุบัน อย่างไรก็ดี นับจากปี 2551 กฎหมายนโยบายได้กลับมาเปิดกว้างอีกครั้ง และโดยบังเอิญ บทความฉบับนี้พบว่า ไม่เพียงแต่กลุ่มผู้อพยพไร้สัญชาติและครอบครัวจะถูกลดทอนโอกาสการเข้าถึงสัญชาติไทย โดยผลจากกฎหมายนโยบายในชุดรัฐบาลที่มาจากการรัฐประหาร แต่โอกาสในการเข้าถึงสัญชาติไทยที่ถูกเปิดกว้างมากขึ้นก็เกิดขึ้นในบางช่วงเวลาของรัฐบาลที่มาจากรัฐประหารเช่นกัน The inclusive citizenship and the fact that being counted-in as citizens is a common long-lost dream of stateless persons in Thailand. On of the obstacle is the national security that govern the acquisition-loss-reinstatement of nationality under the nationality laws in Thai state. From the beginning of the Naturalization Act B.E. 2454 (1911) and the Nationality Act B.E. 2508 (1965), and following amendments in 1972, 1992, 2008, and 2012. Each amendment resulted in either an opening or a closing space to access Thai nationality based on the Jus soli principle. Governments enacted policies at different time (Cabinet of Ministers’ Resolutions) determine specific conditions and criteria for acquiring Thai nationality. On the 30th anniversary of the Convention on Rights of the Child, in which Thailand is the state party, the article intends to reviews the changes in Thai laws and policy on the inclusion of stateless children (and former stateless children) to be Thai citizens on the “Jus Soli citizenship.” In conclusion, Thailand used to give citizenship to aliens under the Jus Soli, regardless of immigration status. Undocumented immigrants without documents may seek naturalization until 1953 and 1972. Most importantly until 1992, the tipping point for naturalization had contributed to statelessness until the present. In 2008, the Jus Soli principle for naturalization. has been re-introduced. This article accidentally discovered that the stateless immigrants and families have slim chance to acquire Thai nationality because of national security reason, since the military government. The idea has been inherited by the subsequent governments. In some military governments from coup d’etat, immigrants had more access to the Thai nationality through naturalization. | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | คนไร้สัญชาติ | en_US |
dc.subject | คนไร้สัญชาติที่ไร้เอกสารแสดงตน | en_US |
dc.subject | คนอพยพย้ายถิ่น | en_US |
dc.subject | พลเมืองโดยหลักดินแดน | en_US |
dc.subject | Stateless persons | en_US |
dc.subject | Undocumented stateless persons | en_US |
dc.subject | Immigrants | en_US |
dc.subject | jus soli citizens | en_US |
dc.title | ในปีที่ 47 ของพลเมืองโดยหลักดินแดนที่ถูกทำให้เป็นอื่น | en_US |
dc.title.alternative | 47th Years of the Alienated Citizen from the Alienated Land | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.