Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72022
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนัทมน คงเจริญen_US
dc.contributor.authorวัชลาวลี คำบุญเรืองen_US
dc.date.accessioned2021-04-23T08:50:34Z-
dc.date.available2021-04-23T08:50:34Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationนิติสังคมศาสตร์ 12, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2562), 40-63en_US
dc.identifier.issn2672-9245en_US
dc.identifier.urihttps://so01.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/205106/159312en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72022-
dc.descriptionCMU Journal of Law and Social Sciences รับพิจารณาบทความวิชาการ และบทปริทัศน์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยขอบเขตเนื้อหาทางวิชาการของCMU Journal of Law and Social Sciences จะครอบคลุมเนื้่อหา เกี่ยวกับกฎหมายทุกสาขา เช่น กฎหมายมหาชน กฎหมายเอกชน กฎหมายอาญา กฎหมายระหว่างประเทศ เป็นต้น ซึ่งสัมพันธ์กับความรู้ทางด้านสังคมศาสตร์ในสาขาต่างๆen_US
dc.description.abstractแม้รัฐธรรมนูญของไทยจะได้มีการรับรองเสรีภาพในการชุมนุมสาธารณะมาอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม กฎหมายที่กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการชุมนุมสาธารณะเพิ่งปรากฏขึ้นโดยสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (โดยการแต่งตั้งของคณะรัฐประหาร) ได้ผ่าน พ.ร.บ. การชุมนุมสาธารณะ ออกมาบังคับใช้เมื่อ พ.ศ. 2558 แม้ว่าเจตนารมณ์ของกฎหมายฉบับนี้ระบุว่าจะเป็นไปเพื่อส่งเสริมเสรีภาพในการชุมนุมและการปกป้องความสงบเรียบร้อยของสังคม แต่ภายหลังจากที่กฎหมายได้ประกาศใช้บังคับเป็นต้นมา พบว่ามีบุคคลเป็นจำนวนมากได้ตกเป็นผู้ต้องหาและจำเลยจากการละเมิด พ.ร.บ. การชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 สะท้อนให้เห็นถึงสภาพปัญหาเบื้องต้นของกฎหมายฉบับนี้ กล่าวคือ ความคลุมเครือของนิยามและความหมายที่เกี่ยวข้องกับการชุมนุม กระบวนการแจ้งการชุมนุม การบังคับใช้กฎหมายของเจ้าหน้าที่รัฐ รวมถึงการตัดสินของศาลในคดีต่างๆ กรณี พ.ร.บ. การชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.2558 ของไทยจึงเป็นตัวอย่างหนึ่งที่จะแสดงให้เห็นว่าความพยายามที่จะบัญญัติกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพของประชาชนให้มีความชัดเจนขึ้น อาจไม่ได้นำมาซึ่งผลดังที่คาดหมายกันไว้แต่อย่างใด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในห้วงเวลาที่อยู่ภายใต้บริบทการปกครองแบบอำนาจนิยมกัน Although, Thai Constitution has constantly guaranteed the right to peaceful assembly of the people. However, the statutory law to which directs the public assembly is just enacted in 2015 by the National Assembly (appointed by the Military Coup). Even, the objective of this law is to protect the freedom of assembly and maintain public order in the society; but after the law came into force, the fact that there are many people are prosecuted by this law illustrates major problems from this law. The problems from the law on public assembly include unclear definition of ‘public assembly,’ the procedure to inform of the public assembly, enforcement of the government officers, also the court decision concerning the public assembly. The law on public assembly is one example of the legislation that an attempt to enact the law protecting the right and liberty of people is clear; nonetheless, the result might be totally opposite direction, especially when the country scheme is the authoritarian governing.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการชุมนุมสาธารณะen_US
dc.subjectกฎหมายการชุมนุมสาธารณะen_US
dc.subjectPublic Assemblyen_US
dc.subjectLaw on public assemblyen_US
dc.titleกฎหมายการชุมนุมสาธารณะภายใต้อำนาจรัฐประหารen_US
dc.title.alternativeThe Law on Public Assembly under the Military Coup Poweren_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.