Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72014
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวิลาวัลย์ คำปวนen_US
dc.date.accessioned2021-02-05T02:29:38Z-
dc.date.available2021-02-05T02:29:38Z-
dc.date.issued2552en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 25, 1 (ก.พ. 2552), 79-84en_US
dc.identifier.issn0857-0841en_US
dc.identifier.urihttps://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/245841/168061en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72014-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractการเก็บรักษาผลส้มที่เคลือบผิวด้วยเคลือบผิว 2 ชนิด (A หรือ B) หรือบรรจุในถุงพลาสติก 2 ชนิด (ชนิดขุ่น PE และชนิดใส PP) แล้วนำไปเก็บไว้ที่อุณหภูมิ 15, 25, 30 และ 35 องศาเซลเซียส พบว่า ผลส้ชุดควบคุมที่เก็บรักษาไว้ที่อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส แสดงอาการเหี่ยวเมือ่เก็บรักษานาน 4 วัน สำหรับผลที่เคลือบด้วยสารเคลือบผิวชนิด A และ B ไม่แสดงอาการเหี่ยว แต่เริ่มพบกลิ่นผิดปกติเมื่อเก็บรักษาไว้นาน 2 และ 4 วัน ตามลำดับ ส่วนผลที่บรรจุพลาสติกทั้งสองชนิดยังคงสภาพภายนอกสดเมื่อเก็บรักษานาน 10 วัน โดยที่รสกลิ่นยังไม่เปลี่ยนแปลง แต่พบการเข้าทำลายของเชื้อจุลินทรีย์มากกว่าผลส้มที่ผ่านการเคลือบผิว การเก็บรักษาผลส้มทุก ๆ วิธีการทดลองไว้ที่อุณหภูมิต่ำลงจะช่วยยืดอายุการเก็บรักษาของผลส้มให้นานขึ้นตามลำดับ ในสภาพอุรหภูมิต่ำจะมีผลต่อการลดการสูญเสียน้ำในชุดควบคุม ยืดระยะเวลาในการเกิดกลิ่นผิดปกติในผลที่เคลือบผิวกเวยสารเคลือบผิว และลดการเกิดโรคในผลส้มที่บรรจุในถุงพลาสติกทั้งสองชนิด Storage of Sai Nam Pueng' tangerine fruit, after coated with 2 types of coating materials (type A or type B) or packed in 2 types of plastic bag (PE: Polyethylene or PP: Polypropylene) compared with non- coated and non-packed fruits as control, at different temperature (15, 25, 30 and 35~C) was investigated. It was found that, the control fruits stored at 35~C showed wilting at day-4, while the fruit coated with material type A and B did not wilt but developed abnormal odor at day-2 and day-4, respectively. The fruit packed in both types of plastic bag showed good appearance and normal odor after 10 days of storage but showed some damage by microorganism. All treatments showed better results at lower temperature storage. Lower temperature delayed wilting in the control fruits, development of abnormal odor in the coated fruits and postharvest rotting in the packed fruits.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectสารเคลือบผิวen_US
dc.subjectภาชนะบรรจุen_US
dc.subjectส้มสายน้ำผึ้งen_US
dc.subjectอุณหภูมิen_US
dc.subjectการเก็บรักษาen_US
dc.subjectCoating materialsen_US
dc.subjectpacking materialsen_US
dc.subjectSai Nam Pueng' tangerineen_US
dc.subjecttemperatureen_US
dc.subjectstorageen_US
dc.titleการเก็บรักษาผลส้มสายน้ำผึ้งที่อุณหภูมิต่าง ๆen_US
dc.title.alternativeStorage of 'Sai Nam Pueng' Tangerine Fruit at Different Temperatureen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.