Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72011
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorโสระยา ร่วมรังษีen_US
dc.contributor.authorรำจวน กิจค้าen_US
dc.contributor.authorชบา นุติประพันธ์en_US
dc.date.accessioned2021-02-05T02:29:37Z-
dc.date.available2021-02-05T02:29:37Z-
dc.date.issued2552en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 25, 1 (ก.พ. 2552), 41-46en_US
dc.identifier.issn0857-0841en_US
dc.identifier.urihttps://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/245825/168631en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72011-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractศึกษาผลของระดับธาตุอาหารต่อการเจริญเติบโต คุณภาพดอกและผลผลิตหัวพันธุ์ของว่านนางคุ้ม วางแผนการทดลองแบบ Factorial in CRD จำนวน 2 ปัจจัย ได้แก่ 1) ความเข้มข้นของไนโตรเจน 3 ระดับ คือ 100, 200 และ 300 มก./ล. 2) ความเข้มข้นของโพแทสเซียม 3 ระดับ คือ 100, 200 และ 300 มก./ล. โดยให้สารละลายธาตุอาหารที่ประกอบด้วยไนโตรเจนและโพแทสเซียมในระดับต่างกัน 2 ครั้ง/สัปดาห์ ในอัตรา 3 ล./ตร.ม. (20 ต้น) ส่วนธาตุอาหารอื่นให้พืชได้รับในปริมาณที่เท่ากันคือ ฟอสฟอรัส 50 มก./ล. แมกนีเซียม 12.32 มก./ล. แคลเซียม 45.64 มก./ล.โบรอน 0.22 มก./ล. แมงกานีส 0.54 มก./ล. สังกะสี 0.26 มก./ล. ทองแดง 0.025 มก./ล. โมลิบดินัม 0.04 มก./ล. และ เหล็ก 0.44 มก./ล. พบว่าไนโตรเจนที่ระดับความเข้มข้นต่สุด คือ 100 มก./ล. ให้คุณภาพของหัวพันธุ์ คือ ขนาดหัว จำนวน และน้ำหนักรวมของหัวต่อกอไม่ต่างจากพืชที่ได้รับไนโตรเจนในระดับสูงสุด การให้โพแทสเซียม 100 มก./ล. ทำให้พืชมีขนาด และน้ำหนักรวมของหัวต่อกอสูงกว่าพืชที่ได้รับโพแทสเซียมในระดับสูงสุดคทอ 300 มก./ล. ดังนั้นความเข้มข้นของไนโตรเจนร่วมกับโพแทสเซียมในสารละลายธาตุอาหารสำหรับการปลูกว่านนางคุ้ม คือ 100:100 มก./ล. ตามลำดับ The study aimed to determine the effect of nitrogen and potassium on growth and development, flower quality and bulb yield of Brisbane lily (Eurycles amboinensis Lindl.). The experimental design was factorial in CRD with 2 factors i.e. 1) N concentrations at 100, 200 and 300 mg/ and 2) K concentrations at 100, 200 and 300 mgl. The plants were supplied with different combinations of nitrogen and potassium in solution at 3 Vm? (20 plants) at twice a week. The other mineral nutritions were supplied at the same concentration in each treatment i.e. P 50 mgl, Mg 12.32, Ca 45.64, B O.22, Mn 0.54, Zn 0.26, Cu 0.025, Mn 0.04 and Fe 0.44 mg/l. It was found that bulb size, number and total weight of bulb supplied with 100 mgl of N were not significantly difference from the highest level of N application (300 mg/). Plants supplied with 100 mgl of K gave better result than at 300 mg/l. Therefore, the optimum ratio of N:K concentration for growth and bulb production of Brisbane lily was 100:100 mg/, respectively.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectว่านนางคุ้มen_US
dc.subjectการเจริญเติบโตen_US
dc.subjectไนโตรเจนen_US
dc.subjectโพแทสเซียมen_US
dc.subjectBrisbane lilyen_US
dc.subjectgrowthen_US
dc.subjectnitrogenen_US
dc.subjectpotassiumen_US
dc.titleผลของไนโตรเจนและโพแทสเซียมต่อการเจริญเติบโตของว่านนางคุ้มen_US
dc.title.alternativeEffects of Nitrogen and Potassium on Growth and Development of Brisbane Lily (Eurycles amboinensis Lindl.)en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.