Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71994
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ศุภางค์ ดำเกิงธรรม | en_US |
dc.contributor.author | อภิรดี นันท์ศุภวัฒน์ | en_US |
dc.contributor.author | เพชรสุนีย์ ทั้งเจริญกุล | en_US |
dc.date.accessioned | 2021-02-05T02:29:37Z | - |
dc.date.available | 2021-02-05T02:29:37Z | - |
dc.date.issued | 2563 | en_US |
dc.identifier.citation | พยาบาลสาร 47,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2563) 349-361 | en_US |
dc.identifier.issn | 0125-5118 | en_US |
dc.identifier.uri | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/247962/168443 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71994 | - |
dc.description | วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาปริมาณเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลทำให้ทราบภาระงานซึ่งนำไปใช้ในการจัดอัตรากำลังที่เหมาะสม การศึกษาเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์กิจกรรมการพยาบาลตามความต้องการผู้ป่วยแต่ละประเภทและศึกษาจำนวนชั่วโมงในการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลแก่ผู้ป่วย แต่ละประเภทที่ได้รับบริการระงับความรู้สึก กลุ่มตัวอย่าง คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง คือ ผู้ป่วยที่ได้รับการระงับความรู้สึกแบบทั่วไป จำนวน 89 คน และวิสัญญีพยาบาล 15 คน พยาบาลวิชาชีพ1คนที่ปฏิบัติงานในห้องพักฟื้น หน่วยงานวิสัญญี โรงพยาบาลแพร่ เครื่องมือในการศึกษา คือ1) คู่มือพจนานุกรมกิจกรรมการพยาบาลวิสัญญีโดยตรงและ โดยอ้อม ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ 0.90 2) แบบบันทึกปริมาณเวลา ที่วิสัญญีพยาบาลใช้ในการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลวิสัญญีโดยตรงและโดยอ้อม ค่าดัชนีความสอดคล้องการสังเกตได้ 0.92 ใช้ขั้นตอนการวางแผนอัตรากำลังบุคลากรพยาบาลของ Srisatidnarakul (2007) และใช้การจำแนกประเภทผู้ป่วยแบบ ASA Class รวบรวมข้อมูลโดยการสังเกตและบันทึกเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า การศึกษานี้พบผู้ป่วยประเภท ASA I - ASA III และไม่พบผู้ป่วยประเภท ASA IV - ASA VI โดยกิจกรรมการพยาบาลโดยตรงพบ 15 กิจกรรม และกิจกรรมการพยาบาลโดยอ้อมพบ 16 กิจกรรม เวลาที่ใช้ในการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลในผู้ป่วย ASA I, ASA III และ ASA II โดยเฉลี่ยรวม เท่ากับ 4.44, 4.04 และ 4.03 ชั่วโมง ตามลำดับ ผลการศึกษาครั้งนี้จะเป็นข้อมูลให้ผู้บริหารใช้เป็นแนวทางในการวางแผนจัดอัตรากำลังวิสัญญีพยาบาลให้มีความเหมาะสมต่อไป The study of time spent on nursing activities indicates the workload which is important to nursing. The purposes of this descriptive study was to analyze nursing activities according to the needs of each type and to study the number of hours of nursing activities for each type of patient receiving anesthesia service. The sample consisted of 89 general anesthesia patients, selected by purposive sampling, 15 nurse anesthetists, 1 professional nurse working in a recovery room in the anesthetist unit Phrae Hospital. The study instruments were 1) Handbook of direct and indirect anesthetical nursing activities dictionary. The content accuracy index was 0.90 2) The record form to the amount of time that nurse anesthetists use to perform direct and indirect nursing activities of anesthetists. The observation consistency index was 0.92. Using the concept of human resource planning for nursing personnel of Srisatidnarakul (2007) and use patient classification with ASA Class. Gather data by observing and recording the time spent on performing nursing activities. Data were analyzed using descriptive statistics. The results show that 1.This study found patients with type ASA I - ASA III and did not find patients with type ASA IV- ASA VI by direct nursing activities found 15 activities and indirect nursing activities found 16 activities. 2.Total time spent in nursing activities in ASA I, ASA III, and ASA II patients, average 4.44, 4.04 and 4.03 hours respectively. The results of this study will be information for executives to use as a guideline in planning the appropriateness of nursing staffing. | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | เวลาที่ใช้ในการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาล | en_US |
dc.subject | การจำแนกประเภทผู้ป่วย | en_US |
dc.subject | กิจกรรมการพยาบาล | en_US |
dc.subject | time spent on nursing activities | en_US |
dc.subject | patient classification system | en_US |
dc.subject | nursing activities | en_US |
dc.title | การศึกษาเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลในหน่วยงานวิสัญญี โรงพยาบาลแพร่ | en_US |
dc.title.alternative | The Study of Time Spent on Nursing Activities in Anesthesia Unit, Phrae Hospital | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.