Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71213
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกัลยาณี ชัยชนะen_US
dc.contributor.authorประสาทพร สมิตะมานen_US
dc.contributor.authorมณีฉัตร นิกรพันธุ์en_US
dc.date.accessioned2021-01-27T03:33:06Z-
dc.date.available2021-01-27T03:33:06Z-
dc.date.issued2552en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 25, 3 (มิ.ย. 2552), 219-227en_US
dc.identifier.issn0857-0841en_US
dc.identifier.urihttps://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/246383/168476en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71213-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractการปรับปรุงพันธุ์มะเขือเทศให้ต้านทานโรคไวรัสใบหงิกเหลือง (Tomato Yellow Leaf Curl Virus; TYLCV) โดยใช้วิธีผสมผสานระหว่างการจดบันทึกประวัติ และการผสมกลับระหว่างพันธุ์เอช 24 ซึ่งต้านทานต่อไวรัสใบหงิกเหลืองผสมกับพันธุ์อ่อนแอคือ พันธุ์ซีที 1 และพันธุ์ซีที 2 โดยถ่ายทอดเชื้อด้วยแมลงหวี่ขาวและใช้วิธี sandwich ELISA ในการตรวจวินิจฉัยโรค ในประชากรลูกผสมชั่วที่ 2 (F2) พบว่า ให้ค่าเฉลี่ยระดับความรุนแรงของโรคระดับปานกลางอยู่ระหว่าง 1.58-3.21 และยังมีการกระจายตัวของความต้านทานโรคอยู่ในลูกผสม ชั่วที่ 2 ระดับคะแนน 1 และ 2 มีปริมาณเชื้อไวรัสที่ตรวจพบน้อย ให้ค่าการดูดกลืนแสงอยู่ระหว่าง 0.247-0.2565 ซึ่งไม่แตกต่างทางสถิติจากพันธุ์เอช 24 แต่แตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญกับพันธุ์ซีที 1 พันธุ์ซีที 2 และพันธุ์ควบคุม ซึ่งมีปริมาณไวรัสที่ตรวจพบมาก มีค่าการดูดกลืนแสง คือ 0.3851 1.3825 และ 1.5820 ตามลำดับ การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ระหว่างระดับความรุนแรงของอาการโรคกับปริมาณเชื้อไวรัสที่พบในต้นพืช พบว่า ความรุนแรงของอาการโรคมีสหสัมพันธ์ทางบวกกับปริมาณเชื้อไวรัสที่ตรวจพบในต้นพืช ผลการศึกษา สามารถคัดเลือกพันธุ์ลูกผสมชั่วที่ 2 ที่ทนทานต่อไวรัสใบหงิกเหลืองระดับคะแนน 1 ดังนี้ พันธุ์ลูกผสมชั่วที่ 2 ของซีที1xเอช 24 จำนวน 6 สายพันธุ์ และพันธุ์ลูกผสมชั่วที่ 2 ของซีที2xเอช24 จำนวน 5 สายพันธุ์ Improvement of tomato for resistance to tomato yellow leaf curl virus (TYLCV) was carried out by using a pedigree and backcrossing methods and crossing between resistant parent H-24 with susceptible parents CT-1 and CT-2. The virus was transmitted by viruliferous whiteflies and virus infection was detected by sandwich ELISA. In F2 generation showed moderately level of resistance with scores ranging from 1.58 - 3.21. Segregation of disease resistance was observed among the population. The F2 populations (scoring 1 or 2) showed absorbance ranging from 0.247 - 0.2565 which were not statistically different from H24 and showed lower virus titer. However, they were significantly different from CT-1,CT-2 and susceptible control. The absorbance of inbred were 0.3851 1.3825 and 1.5820, respectively. The disease severity and virus titer in infected plants of F2 populations showed positive correlation. From this breeding experiment, 6 lines selected from F2CT-1xH-24 and 5 lines selected from F2 CT-2xH-24 showing TYLCV resistance with the score of 1 were obtained.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectมะเขือเทศen_US
dc.subjectไวรัสใบหงิกเหลืองของมะเขือเทศen_US
dc.subjectTomatoen_US
dc.subjectTYLCVen_US
dc.titleการปรับปรุงพันธุ์ต้านทานโรคไวรัสใบหงิกเหลือง ของมะเขือเทศen_US
dc.title.alternativeVarietal Improvement of Tomato for Tomato Yellow Leaf Curl Virus Resistanceen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.