Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71211
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ธนวดี พรหมจันทร์ | en_US |
dc.contributor.author | อาสลัน หิเล | en_US |
dc.contributor.author | สมปอง เตชะโต | en_US |
dc.date.accessioned | 2021-01-27T03:33:06Z | - |
dc.date.available | 2021-01-27T03:33:06Z | - |
dc.date.issued | 2552 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารเกษตร 25, 3 (มิ.ย. 2552), 211-218 | en_US |
dc.identifier.issn | 0857-0841 | en_US |
dc.identifier.uri | https://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/246381/168475 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71211 | - |
dc.description | วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1 | en_US |
dc.description.abstract | การตรวจสอบความแปรปรวนของต้นกล้าปาล์มน้ำมัน (Elaeis guineensis Jacq.) ที่ชักนำจากการเพาะเลี้ยงในหลอดทดลอง โดยใช้เทคนิคไอโซไซม์ พบว่า อัตราส่วนของชิ้นส่วนพืชต่อบัฟเฟอร์สกัดที่เหมาะสมสำหรับสกัดเอนไซม์จากใบของต้นกล้าปาล์มน้ำมันคือ 1:5 ระบบเอนไซม์เอสเทอเรส เป็นระบบเอนไซม์ที่เหมาะสมที่สุดในการทดสอบความสม่ำเสมอของต้นกล้าปาล์มน้ำมัน โดยสามารถย้อมติดสีเอนไซม์ชัดเจนและได้แถบเอนไซม์สูงสุด 5 แถบ รูปแบบของไอโซไซม์ดังกล่าวไม่มีความแตกต่างกัน ส่วนการตรวจสอบด้วยเทคนิค RAPD โดยใช้ไพรเมอร์ OPAB-09 และ OPAB-01 ให้ความสม่ำเสมอของแถบดีเอ็นเอสูง ซึ่งแถบที่ได้มีลักษณะเป็น monomorphism จึงสามารถใช้ในการตรวจสอบความแปรปรวนของต้นกล้าทั้งในและนอกหลอดทดลอง ดังนั้น การขยายพันธุ์ปาล์มน้ำมันด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงใบอ่อนจากต้น ที่ให้ผลผลิตดี สามารถผลิตต้นกล้าปาล์มน้ำมันที่มีความสม่ำเสมอสูง Detection of genetic variation in oil palm plantlets cultured from young leaf tissue by isozyme technique revealed that esterase-based system gave the best result. The ratio to leaf tissues and extraction buffer at 1:5 was proved to give the best resolution of enzyme patterns. The esterase-based system gave 5 clearly uniform bands of the regenerants. The RAPD technique using OPAB-09 and OPAB-01 also gave uniformity and monomorphism of DNA patterns. The technique could be used to detect both in intro and ex vitro plantlet variation. In conclusion, propagation of oil palm ortet through culturing of young leaf gave uniformity of plantlets. | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ปาล์มน้ำมัน | en_US |
dc.subject | Elaeis guineensis Jacq. | en_US |
dc.subject | ตรวจสอบความแปรปรวน | en_US |
dc.subject | อาร์เอพีดี | en_US |
dc.subject | ไอโซไซม์ | en_US |
dc.subject | Oil palm | en_US |
dc.subject | analysis of variant | en_US |
dc.subject | RAPD | en_US |
dc.subject | isozyme | en_US |
dc.title | การตรวจสอบความแปรปรวนทางพันธุกรรมของต้นกล้า ที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อใบอ่อนของปาล์มน้ำมัน | en_US |
dc.title.alternative | Genetic Variation Analysis of Oil Palm Plantlet from Young Leaf Tissue Culture | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.