Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71202
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชนินทร์ รัตนสินen_US
dc.contributor.authorกนกดล สิริวัฒนชัยen_US
dc.date.accessioned2021-01-27T03:33:06Z-
dc.date.available2021-01-27T03:33:06Z-
dc.date.issued2552en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 25, 2 (มิ.ย. 2552), 177-184en_US
dc.identifier.issn0857-0841en_US
dc.identifier.urihttps://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/246242/168367en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71202-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractจากการเก็บตัวอย่างน้ำนมดิบจากแม่โคที่กำลังให้นมจำนวน 13 ตัว โดยคละอายุ และคละระยะเวลาการให้นม จากฟาร์มวิทยาเขตปทุมธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โดยทำการเก็บตัวอย่างน้ำนมจำนวน 15 ครั้ง ห่างกันครั้งละ 2 สัปดาห์ ในระหว่างเดือนมกราคม ถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2549 รวมจำนวนตัวอย่างน้ำนมทั้งสิ้น 92 ตัวอย่าง เพื่อตรวจหาอุบัติการณ์ของยาต้านจุลชีพตกค้างในน้ำนมดิบ โดยใช้วิธี European Four Plate Test (EFPT) เปรียบเทียบกับการใช้ชุดตรวจสอบยาต้านจุลชีพตกค้าง (Antimicrobial Residue Screening Test Kit) พบว่าจากการตรวจโดยวิธี EFPT พบอัตราอุบัติการณ์ของยาต้านจุลชีพตกค้าง 0.09 ต่อ 100 ตัวอย่าง โดยมีความไว 66.67 % และความจำเพาะ 100 % ส่วนการตรวจโดยใช้ชุดตรวจสอบยาต้านจุลชีพตกค้าง พบอัตราอุบัติการณ์ของยาต้านจุลชีพตกค้าง 0.11 ต่อ 100 ตัวอย่าง มีความไว 83.33 % และความจำเพาะ 100 % โดยผลจากการตรวจทั้ง 2 วิธีเป็นไปในทิศทางเดียวกัน Raw milk was collected from 13 lactating cows (mix ages and duration of lactating) from Pathumthani Campus farm, Rajamangala University of Technology Thanyaburi. The raw milk samples were collected every 2 weeks between January to August 2006 (15 times). The total 92 samples were tested for incidence of antimicrobial residues by 2 different tests: European Four Plate Test (EFPT) and Antimicrobial Residue Screening Test Kit. The results from EFPT found antimicrobial residues 0.09 per 100 samples, sensitivity and specificity were 66.67% and 100%, respectively. The Test Kit found antimicrobial residues 0.11 per 100 samples, sensitivity and specificity were 83.33% and 100%, respectively. The results of both tests appeared in the same direction.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectยาต้านจุลชีพตกค้างen_US
dc.subjectชุดตรวจสอบen_US
dc.subjectน้ำนมดิบen_US
dc.subjectEuropean four plate testen_US
dc.subjecttest kit, raw milken_US
dc.subjectAntimicrobial residuesen_US
dc.titleอุบัติการณ์ของยาต้านจุลชีพตกค้างในน้ำนมดิบจากฟาร์มวิทยาเขตปทุมธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีen_US
dc.title.alternativeIncidence of Antimicrobial Residues in Raw Milk from Pathumthani Campus Farm, Rajamangala University of Technology Thanyaburien_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.