Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71201
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวีรวรรณ ภมรen_US
dc.contributor.authorพรรณธิภา ณ เชียงใหม่en_US
dc.date.accessioned2021-01-27T03:33:06Z-
dc.date.available2021-01-27T03:33:06Z-
dc.date.issued2552en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 25, 2 (มิ.ย. 2552), 125-133en_US
dc.identifier.issn0857-0841en_US
dc.identifier.urihttps://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/246230/168356en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71201-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractการศึกษาอิทธิพลของชิ้นส่วนพืชจากสองชนิดได้แก่ ก้านใบและลำต้นใต้ใบเลี้ยงของต้นสบู่ดำ (Jatropha curcas L.) และความเข้มข้นของสารควบคุมการเจริญเติบโต ได้แก่ N6 benzyladenine (BA) และ indole-3-yl-butyric acid (IBA) ที่แตกต่างกันต่อการชักนำให้เกิดแคลลัสในสภาพปลอดเชื้อ โดยอาหารที่ใช้ในการชักนำแคลลัสคืออาหารสูตร MS ที่มีความแตกต่างของการเติมสารควบคุมการเจริญเติบโตที่ความเข้มข้นต่าง ๆ ได้แก่ MS + 0.5 mg/l BA + 0.1 mg/l IBA (อาหารสูตรที่ 1) และ MS + 1 mg/l BA + 0.5 mg/l IBA (อาหารสูตรที่ 2) ตามลำดับ พบว่าอิทธิพลของทั้งชิ้นส่วนพืช ความเข้มข้นของสารควบคุมการเจริญเติบโต และปฏิสัมพันธ์ระหว่างทั้งสองตัวแปรมีผลต่อการเกิดแคลลัสอย่างมีนัยสำคัญยิ่ง โดยการชักนำแคลลัสจากลำต้นใต้ใบเลี้ยงในอาหารสูตรที่ 2 ให้แคลลัสที่มีน้ำหนักสดสูงสุดและเป็นแคลลัสที่เกาะกันแน่น (compact) แคลลัสที่ได้จากชิ้นส่วนของลำต้นใต้ใบเลี้ยงมีน้ำหนักสูงกว่าเมื่อเทียบกับการใช้ชิ้นส่วนของก้านใบ และอาหารชักนำแคลลัสในอาหารสูตรที่ 2 จะทำให้เกิดแคลลัสที่มีลักษณะเกาะกันแน่นมากกว่าอาหารสูตรที่ 1 ทั้งก่อนและหลังทำการเปลี่ยนอาหารนาน 30 วัน This study aimed to evaluate the effects of two explant types; petioles and hypocotyls of physic nut (Jatropha curcas L.), and different concentrations of N6 benzyladenine (BA) and indole-3-yl-butyric acid (IBA) on inducing callus formation under aseptic condition. A MS medium supplemented with the growth regulators (such as MS + 0.5 mg/l BA + 0.1 mg/l IBA; Medium I and MS + 1 mg/l BA + 0.5 mg/l IBA; Medium II) was employed in this study. In both explant types, growth regulator concentrations and the interaction between these variables significantly affected the formation of callus. The fresh weight of calli induced from hypocotyls on Medium II were highest and the calli had compact characteristics. The weight of calli derived from hypocotyl explants was higher than those from petiole explants. Medium II induced more compact calli than Medium I in a culture both before and after the first callus subculturing at 30 days.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectสบู่ดำen_US
dc.subjectก้านใบen_US
dc.subjectลำต้นใต้ใบเลี้ยงen_US
dc.subjectการชักนำแคลลัสen_US
dc.subjectPhysic nuten_US
dc.subjectJatropha curcasen_US
dc.subjectpetiole, hypocotylen_US
dc.subjectcallus inductionen_US
dc.titleผลของอาหารและชิ้นส่วนพืชในการชักนำ ให้เกิดแคลลัสของสบู่ดำen_US
dc.title.alternativeEffects of Culture Media and Explant Types on Callus Induction of Physic Nut (<I>Jatropha curcas </I> L.)en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.