Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71199
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธีรวุธ ปัทมาศen_US
dc.contributor.authorสุรินทร์ นิลสำราญจิตen_US
dc.date.accessioned2021-01-27T03:33:06Z-
dc.date.available2021-01-27T03:33:06Z-
dc.date.issued2552en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 25, 3 (มิ.ย. 2552), 191-200en_US
dc.identifier.issn0857-0841en_US
dc.identifier.urihttps://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/246374/168472en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71199-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractการศึกษาการควั่นกิ่งกีวีฟรุตพันธุ์ Bruno จากกิ่งอายุหนึ่งปีที่มีขนาดสม่ำเสมอจำนวน 8 ตาต่อกิ่งในระยะ ก่อนพักตัวในปี พ.ศ. 2550 และ 2551 โดยใช้สารละลายไฮโดรเจนไซยานาไมด์ความเข้มข้น 4 เปอร์เซ็นต์ฉีดพ่นที่ตา ร่วมด้วยในช่วงก่อนระยะพ้นการพักตัวของตา และการทดลองการควั่นกิ่งโดยไม่ฉีดพ่นสาร ทำการทดลองที่สถานี เกษตรหลวงอินทนนท์และสถานีเกษตรหลวงอ่างขาง โดยวางแผนการทดลองแบบบล็อกสุ่มสมบูรณ์ ประกอบด้วย 5 กรรมวิธี คือ การไม่ควั่นกิ่ง การควั่นกิ่งที่โคนกิ่ง การควั่นกิ่งปีที่แล้ว การควั่นกิ่งเป็นช่วง และการควั่นกิ่งทุกตา พบว่า การควั่นกิ่งทุกวิธีร่วมกับการใช้สารฉีดพ่น สามารถเพิ่มจำนวนตาให้เจริญต่อกิ่งที่ศึกษาได้มากกว่าการควั่นกิ่งเพียง อย่างเดียว ในขณะที่กรรมวิธีการควั่นกิ่งทุกตาช่วยกระตุ้นให้ตาเจริญได้มีจำนวนมากขึ้นแตกต่างจากวิธีอื่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การศึกษาตำแหน่งตาที่มีการเจริญพบมากจากตาในบริเวณปลายกิ่งและเกิดได้น้อยลงในตำแหน่ง ถัดมาทางโคนกิ่งแต่ในต้นที่มีความแข็งแรงมีผลต่อการแตกตาบริเวณโคนกิ่งเจริญได้มากขึ้น การเจริญของตาที่เจริญ จากแต่ละตำแหน่งนั้นใช้ระยะเวลาในการพัฒนาไม่แตกต่างกันมากนัก A study on cane girdling of kiwifruit cv. Bruno was conducted. The one-year-old cane with 8 buds per cane were chosen to permit uniform for each treatment in the same vine during the onset of dormancy on year 2007 and 2008. Dose of 4% hydrogen cyanamide was sprayed to run off before dormancy had broken, while the another experiment compared girdling without hydrogen cyanamide spraying. These experiments were investigated on Randomized Complete Block Design at Inthanon Royal Agricultural Station and Angkhang Royal Agricultural Station, consisted of 5 girdling treatments contorl, girdling at proximal end of one-year-old cane, girdling on two-year-old cane, girdling on proximal and distal end of one-year-old cane, and six internode girdling. The results showed that all of girdling treatments with spraying hydrogen cyanamide increased percent bud break from those with girdling only. The internode girdling means affected increasing the bud break significantly difference. Bud emerged from bud position on cane from the distal end and decreased gradually at the proximal end. Whereas the experiment designed on the healthy vines stimulated emergence of bud on the proximal end. The period of bud breaking was not differed from the various positions of bud on those canes.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการควั่นกิ่งen_US
dc.subjectไฮโดรเจนไซยานาไมด์en_US
dc.subjectการแตกตาen_US
dc.subjectกีวีฟรุตen_US
dc.subjectGirdlingen_US
dc.subjecthydrogen cyanamideen_US
dc.subjectbud breaken_US
dc.subjectkiwifruiten_US
dc.titleผลของการควั่นกิ่งและไฮโดรเจนไซยานาไมด์ต่อการแตกตาของกีวีฟรุตพันธุ์ Bruno (<I>Actinidia deliciosa </I>C. F. Liang et. A. R. Ferguson)en_US
dc.title.alternativeEffects of Girdling and Hydrogen Cyanamide on Bud Break of Kiwifruit cv. Bruno (<I>Actinidia deliciosa </I> C. F. Liang et. A. R. Ferguson)en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.