Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71157
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorรังสิยา นารินทร์en_US
dc.contributor.authorวิลาวัณย์ เตือนราษฎร์en_US
dc.contributor.authorวราภรณ์ บุญเชียงen_US
dc.date.accessioned2021-01-27T03:33:04Z-
dc.date.available2021-01-27T03:33:04Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 42, 3 (ก.ค.-กั.ย. 2558), 170-181en_US
dc.identifier.issn0125-0091en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/43577/36015en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71157-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ การดูแลที่เหมาะสมโดยอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชนจะช่วยให้ผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีสุขภาวะ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรมดูแลผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน และศึกษาผลของโปรแกรมต่อสมรรถภาพทางกายและอาการปวดข้อเข่าของผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมในชุมชน กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มพัฒนาโปรแกรม ประกอบด้วย ตัวแทนผู้สูงอายุ ผู้ดูแล พยาบาลวิชาชีพอาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน แกนนำในชุมชน เจ้าหน้าที่เทศบาล แพทย์ และนักกายภาพบำบัด รวม 86 คน และกลุ่มผู้เข้าร่วมโปรแกรมคือ ผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อม จำนวน 212 ดำเนินการวิจัยระหว่างเดือนมกราคม 2555 - กันยายน 2556เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แนวคำถามปัญหาสถานการณ์และความต้องการการดูแล แนวคำถามทุนทางสังคมแบบทดสอบการเดิน 6 นาที ส่วนแบบคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม และแบบประเมินอาการข้อเข่าเสื่อมทดสอบความเชื่อมั่นคูเดอร์-ริชาร์ดสัน (KR-20) ได้เท่ากับ 0.82 และสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น(Chronbach’s α) เท่ากับ 0.87 ตามลำดับข้อมูลเชิงคุณภาพวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ข้อมูลเขิงปริมาณวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และ dependent -test Knee osteoarthritis is common found in older adults. An appropriate caring usingcommunity participation is required to encourage older adults to perform activities of daily living and stay healthy. The objectives of this study were to develop a community participationprogram for older adults with knee osteoarthritis and determine the effects of this program toward older adults with knee osteoarthritis’ physical function and knee pain. The participantswere divided into two groups. The program developers was consisted of representative of older adults, care givers, registered nurses, community leaders, group leaders, local governmentofficers, general doctor, and physiotherapists all together 86 people. Other group was the program participants including 212 older adults with knee osteoarthritis. The research was conducted during January 2012-September 2013. The research instruments were the situationanalysis questionnaires, the social capital questionnaires, 6-minute walk testen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการพัฒนาโปรแกรมการดูแลen_US
dc.subjectผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมen_US
dc.subjectการมีส่วนร่วมของชุมชนen_US
dc.subjectCaring program developmenten_US
dc.subjectolder adults with knee osteoarthritisen_US
dc.subjectcommunity participationen_US
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมดูแลผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนen_US
dc.title.alternativeDevelopment of a Community Participation Program for Caring Older Adults with Knee Osteoarthritisen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.