Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71155
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปิยะฉัตร วิเศษศิริen_US
dc.contributor.authorอะเคื้อ อุณหเลขกะen_US
dc.contributor.authorนงเยาว์ เกษตร์ภิบาลen_US
dc.date.accessioned2021-01-27T03:33:04Z-
dc.date.available2021-01-27T03:33:04Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 42, 3 (ก.ค.-กั.ย. 2558), 119-134en_US
dc.identifier.issn0125-0088en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/43566/36005en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71155-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractการติดเชื้อดื้อยาในโรงพยาบาลมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ทำให้ผู้ป่วยต้องอยู่โรงพยาบาลนานขึ้น เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาเพิ่มขึ้น และอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิต การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการส่งเสริมการปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อดื้อยาของบุคลากร พยาบาลในแผนกอายุรกรรมในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งหนึ่งและศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรพยาบาลที่มีต่อรูปแบบการส่งเสริมการปฏิบัติ โดยประยุกต์ใช้แนวคิดการพัฒนาคุณภาพโดยความร่วมมือดำเนินการวิจัยตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2555 ทีมพัฒนาประกอบด้วย แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านการควบคุมการติดเชื้อ พยาบาลควบคุมการติดเชื้อ พยาบาลควบคุมการติดเชื้อประจำหอผู้ป่วย และพยา บาลวิชาชีพผู้รับผิดชอบงานคุณภาพของหอผู้ป่วย จำนวน 19 คน กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ บุคลากรพยาบาลของหอผู้ป่วยอายุรกรรม 7 แห่ง จำนวน 155 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมการปฏิบัติในการป้องกันการติดเชื้อดื้อยาของบุคลากรพยาบาล แนวปฏิบัติการป้องกัน การติดเชื้อดื้อยาหลายขนานในโรงพยาบาล แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อรูปแบบการส่งเสริมการปฏิบัติในการป้องกันการติดเชื้อดื้อยาและแบบบันทึกการสังเกตการปฏิบัติในการป้องกันการติดเชื้อดื้อยา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา Hospital-associated infection from drug-resistant organisms is increasing, resulting in longer hospital stays, higher treatment costs and patient deaths. This developmental researchstudy aimed to develop a model for promoting practices to prevent drug-resistant organism infection among nursing personnel in the medical department of a tertiary care hospital. Collaborative quality improvement was used during model development. The research was conducted between January and June 2012. The model development team consisted of infection control doctors, infection control nurses, infection control ward nurses and quality assurance nurses, a total of 19 persons. The study sample included 155 nursing personnel from seven medical wards. The research instruments consisted of a plan for developing the model to promote drug-resistant organism infection prevention practices in hospitals, guidelinefor management of multidrug-resistant organisms in healthcare settings, an opinionquestionnaire on the model for promoting drug-resistant organism infection preventionpractices, and the drug-resistant organism infection prevention practices observation form. Data were analyzed using descriptive statisticsen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectรูปแบบการส่งเสริมการปฏิบัติen_US
dc.subjectการป้องกันการติดเชื้อดื้อยาen_US
dc.subjectบุคลากรพยาบาลen_US
dc.subjectModel For Promoting Practicesen_US
dc.subjectPrevention Of Drug-Resistant Organisms Infectionsen_US
dc.subjectNursing Personnelen_US
dc.titleการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมการปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อดื้อยาของบุคลากรพยาบาล แผนกอายุรกรรมในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิen_US
dc.title.alternativeDevelopment of a Model for Promoting Practices to Prevent Drug-resistant Organisms Infections among Nursing Personnel, Medical Department of a Tertiary Care Hospitalen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.