Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71150
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนัสชฎาพร นันทะจันทร์en_US
dc.contributor.authorนงเยาว์ เกษตร์ภิบาลen_US
dc.contributor.authorนงคราญ วิเศษกุลen_US
dc.date.accessioned2021-01-27T03:33:04Z-
dc.date.available2021-01-27T03:33:04Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 42, 3 (ก.ค.-กั.ย. 2558), 72-83en_US
dc.identifier.issn0125-0084en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/43454/35906en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71150-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractเยาวชนที่ติดเชื้อเอชไอวีที่ขาดวินัยในการรับประทานยาต้านไวรัส จะส่งผลให้ไม่สามารถควบคุมปริมาณเชื้อไวรัสในกระแสเลือด มีภูมิต้านทานลดลง เกิดการติดเชื้อฉวยโอกาสและดื้อยาต้านไวรัส การวิจัยเชิงทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการให้ข้อมูล การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนาทักษะต่อความมีวินัยในการรับประทานยาต้านไวรัสในเยาวชนที่ติดเชื้อเอชไอวี กลุ่มตัวอย่างคือผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีอายุระหว่าง 15-24ปี ที่มารับยาต้านไวรัสที่คลินิกเอดส์ โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง สุ่มเยาวชนที่ติดเชื้อเอชไอวีที่ไม่มีวินัยในการรับประทานยาต้านไวรัส จำนวน 56ราย เข้าการศึกษาโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 28 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการให้ข้อมูล การสร้างแรงจูงใจ และพัฒนาทักษะการรับประทานยาต้านไวรัส แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบบันทึกความมีวินัยในการรับประทานยาต้านไวรัส และแบบบันทึกจำนวนเม็ดเลือดขาวชนิด CD4วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สถิติไควสแคว์ สถิติทดสอบแมคนีมาร์ และสถิติทดสอบค่าที Youths living with HIV who have poor antiretroviral drug adherence will inadequate viral suppression, decreased immune system function, opportunistic infections, and drug resistance. The objective of this experimental research study was to determine the effect of information provision, motivation, and skill development on antiretroviral adherence among youths living with HIV. The study samples consisted of HIV-positive patients aged between 15-24 years receiving antiretroviral drug from the AIDS clinic at a community hospital. Fifty-six non-adherent participants were randomly selected for this study using computer generated random sampling. Twenty-eight participants each were assigned to the experimental group or control group. The research instruments consisted of group information provision, motivation, and skill development plan; personal data questionnaire;antiretroviral drug adherence recording form; and a CD4 cell count recording form. The data were analyzed using descriptive statistics, Chi-square test, McNemar’s test, and t-testen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการให้ข้อมูลen_US
dc.subjectการสร้างแรงจูงใจen_US
dc.subjectและการพัฒนาทักษะen_US
dc.subjectความมีวินัยในการรับประทานยาต้านไวรัสen_US
dc.subjectเยาวชนที่ติดเชื้อเอชไอวีen_US
dc.subjectInformation Provision Motivation and Skills Developmenten_US
dc.subjectArv Adherenceen_US
dc.subjectYouths Living With HIVen_US
dc.titleผลของการให้ข้อมูล การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนาทักษะต่อความมีวินัยในการรับประทานยาต้านไวรัสในเยาวชนที่ติดเชื้อเอชไอวีen_US
dc.title.alternativeEffect of Information Provision, Motivation, and Skill Developmenton Antiretroviral Adherence among Youths Living with HIVen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.