Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71147
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวิมาลา อินด้วงen_US
dc.contributor.authorอรอนงค์ วิชัยคำen_US
dc.contributor.authorเรมวล นันท์ศุภวัฒน์en_US
dc.date.accessioned2021-01-27T03:33:04Z-
dc.date.available2021-01-27T03:33:04Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 42, 3 (ก.ค.-กั.ย. 2558), 147-156en_US
dc.identifier.issn0125-0090en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/43573/36011en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71147-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractการมีส่วนร่วมทางการเมืองของพยาบาลวิชาชีพเป็นการกระทำที่เกิดจากความตระหนักรู้ในการพยายามที่จะมีอิทธิพลต่อนโยบายสาธารณะทั้งโดยตรงหรือโดยอ้อม โดยเฉพาะนโยบายสาธารณะด้านสุขภาพ และนโยบายสาธารณะอื่นๆ ที่ส่งผลต่อวิชาชีพ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมทางการเมือง รวมถึงหาปัจจัยทำนายการมีส่วนร่วมทางการเมืองของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลเขตภาคเหนือของประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพจำนวน 395 คน จาก 37 โรงพยาบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลศูนย์ เขตภาคเหนือ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้รับการพัฒนาโดยผู้วิจัยตามแนวคิดของเวอร์บา และคณะ (Verba et al. ,1995)ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามการมีส่วนร่วมทางการเมืองของพยาบาลวิชาชีพ และแบบสอบถามปัจจัยทำนายการมีส่วนร่วมทางการเมืองของพยาบาลวิชาชีพ ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาของเครื่องมือทั้งสองเท่ากับ .97 และ 1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .88 และ .85 ตามลำดับ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน Political participation among professional nurses is a conscious action that seeks to influence public policy either directly or indirectly, especially public health policies and other public policies that affect the nursing profession. The purpose of this research study was to identify the political participation and the predicting factors of political participationamong professional nurses in hospitals in the northern region of Thailand. The study sampleincluded 395 professional nurses in 37 hospitals who had worked in community hospitals, general hospitals, and regional hospitals in the northern region. The research instruments were developed by the researcher based on the conceptual framework of Verba and colleagues (1995) and were comprised of a demographic data record form, nurse political participation questionnaire, and factors predicting political participation among nurses questionnaire. The content validity index of both instruments were .97 and 1.00, respectivelyand the reliability were .88 and .85, respectively. Data were analyzed using stepwisemultiple regression analysisen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectปัจจัยทำนายen_US
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางการเมืองen_US
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพen_US
dc.subjectโรงพยาบาลเขตภาคเหนือen_US
dc.subjectFactors Predictingen_US
dc.subjectPolitical Participationen_US
dc.subjectProfessional Nursesen_US
dc.subjectNorthern Region Hospitalsen_US
dc.titleปัจจัยทำนายการมีส่วนร่วมทางการเมืองของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาล เขตภาคเหนือen_US
dc.title.alternativeFactors Predicting Political Participation among Professional Nurses in Hospitals, Northern Regionen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.