Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71144
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปิยฉัตร อัครนุชาตen_US
dc.contributor.authorสุภามาศ ช่างแต่งen_US
dc.contributor.authorปิติพงษ์ โตบันลือภพen_US
dc.contributor.authorสุชาดา เวียรศิลป์en_US
dc.contributor.authorสงวนศักดิ์ ธนาพรพูนพงษ์en_US
dc.date.accessioned2021-01-27T03:33:04Z-
dc.date.available2021-01-27T03:33:04Z-
dc.date.issued2553en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 26, 1 (ก.พ. 2553), 85-92en_US
dc.identifier.issn0857-0863en_US
dc.identifier.urihttps://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/246224/168350en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71144-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 22en_US
dc.description.abstractการทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของน้ำมันหอมระเหยจากกานพลู โป๊ยกั๊ก และข่า ในการป้องกันกำจัดเชื้อราที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดโดยเคลือบเมล็ดพันธุ์ด้วย chitosan- lignosulphonate polymer และ น้ำมันหอมระเหยจากกานพลู โป๊ยกั๊ก และ ข่า 0.5, 1, 1.5 และ 2 มิลลิลิตร ตรวจสอบประสิทธิภาพการควบคุมเชื้อราโดยวิธีเพาะบนกระดาษชื้น และคำนวณหาเปอร์เซ็นต์การควบคุมเชื้อราระหว่างการเก็บรักษาเป็นระยะเวลา 90 วัน พบว่าน้ำมันหอมระเหยจากกานพลูมีประสิทธิภาพในการควบคุมเชื้อราที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์มากกว่าน้ำมันหอมระเหยจากโป๊ยกั๊กและข่าตามลำดับ การทดลองนี้สรุปได้ว่าน้ำมันหอมระเหยจากกานพลูสามารถควบคุมเชื้อรา Aspergillus niger และ Fusarium sp. ที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ได้อย่างมีประสิทธิภาพเมื่อเปรียบเทียบกับแคปแทน The aim of this study was to determine the efficiency of eugenol, star anise and galanga essential oils in controlling seed-borne fungi of maize seeds. First, the maize seeds were coated with a chitosan-lignosulphonate polymer followed by the essential oils of eugenol, star anise or galangal at various concentrations; 0.5, 1, 1.5 and 2 ml. Then, the coated seeds were stored for 90 days. Finally, the health of the stored, coated seeds was assayed by using the blotter method in which the fungal inhibition percentage was calculated. Of the three essential oils used in this study, eugenol proved to be the most effective antifungal agent against the pathogenic fungi. This study concluded that eugenal essential oil was effective in controlling and eliminating Aspergillus niger and Fusarium sp. in maize seeds when compared to the chemical captan.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการเคลือบเมล็ดพันธุ์en_US
dc.subjectน้ำมันหอมระเหยจากพืชen_US
dc.subjectเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์en_US
dc.subjectเชื้อราที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์en_US
dc.subjectSeed coatingen_US
dc.subjectplant essential oilen_US
dc.subjectmaize seeden_US
dc.subjectseed-borne fungien_US
dc.titleผลของการเคลือบเมล็ดด้วยน้ำมันหอมระเหย ต่อเชื้อราที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์en_US
dc.title.alternativeEffect of Essential Oils Coating on Seed-borne Fungi in Maize Seedsen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.