Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71142
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนพมาศ อุตะมะen_US
dc.contributor.authorโรจนี จินตนาวัฒน์en_US
dc.contributor.authorสมสงวน อัษญคุณen_US
dc.contributor.authorภารดี นานาศิลป์en_US
dc.date.accessioned2021-01-27T03:33:04Z-
dc.date.available2021-01-27T03:33:04Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 42, 3 (ก.ค.-กั.ย. 2558), 61-71en_US
dc.identifier.issn0125-0083en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/43468/35919en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71142-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractความบกพร่องทางการมองเห็นเป็นปัญหาที่สำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวันและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความบกพร่องทางการมองเห็น วิธีการเผชิญความเครียดและคุณภาพชีวิตที่เกี่ยวข้องกับการมองเห็นของผู้สูงอายุที่เป็นต้อกระจก กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่เป็นต้อกระจกมารับบริการตรวจและรักษาที่ห้องตรวจตาผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ จำนวน 236 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดวิธีการเผชิญความเครียด และแบบวัดคุณภาพชีวิตที่เกี่ยวข้องกับการมองเห็น ทดสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม ได้ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคของแบบวัดวิธีการเผชิญความเครียดโดยรวมเท่ากับ .91 ด้านการเผชิญหน้ากับปัญหา ด้านการจัดการกับอารมณ์ และด้านการบรรเทาความเครียดเท่ากับ .88 .80 และ .80 ตามลำดับ ส่วนแบบวัดคุณภาพชีวิตที่เกี่ยวข้องกับการมองเห็นได้ค่าความเชื่อมั่นโดยรวมเท่ากับ .88 รวบรวมข้อมูลภายหลังโครงการวิจัยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและคะแนนสัมพัทธ์ Visual impairment is a major problem that impacts the quality and daily life of the elderly. This descriptive research study aimed to describe visual impairment level, coping strategies, and vision-related quality of life among the elders with cataracts. The samples consisted of 236 elders with cataracts who attended the Ophthalmological Medicine Clinic at Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital. The instruments used in this studywere the Demographic Data Record Form, the Jalowiec Coping Scale and the Vision-relatedQuality of Life Questionnaire. Reliability was assessed by Cronbach’s coefficient alpha. The reliability coefficient of the overall Jalowiec Coping Scale and confrontive coping, emotive coping, and palliative coping scales were .91, .88, .80, and .80, respectively. The overall Vision-related Quality of Life Questionnaire was .88. Data were collected after the research project was approved by the ethic committee. The data were analyzed using descriptive statistics and relative scoresen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความบกพร่องทางการมองเห็นen_US
dc.subjectวิธีการเผชิญความเครียดen_US
dc.subjectคุณภาพชีวิตที่เกี่ยวข้องกับการมองเห็นen_US
dc.subjectผู้สูงอายุที่เป็นต้อกระจกen_US
dc.subjectVisual Impairmenten_US
dc.subjectCoping Strategiesen_US
dc.subjectVision-Related Quality Of Lifeen_US
dc.subjectElders With Cataracten_US
dc.titleความบกพร่องทางการมองเห็น วิธีการเผชิญความเครียด และคุณภาพชีวิตที่เกี่ยวข้องกับการมองเห็นของผู้สูงอายุที่เป็นต้อกระจกen_US
dc.title.alternativeVisual Impairment, Coping Strategies, and Vision-related Quality of Life among Elders with Cataracten_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.