Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71140
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพุฒิตา พรหมวิอินทร์en_US
dc.contributor.authorโยทะกา ภคพงศ์en_US
dc.contributor.authorมยุรี นิรัตธราดรen_US
dc.date.accessioned2021-01-27T03:33:04Z-
dc.date.available2021-01-27T03:33:04Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 42, 3 (ก.ค.-กั.ย. 2558), 84-94en_US
dc.identifier.issn0125-0085en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/43463/35914en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71140-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractการศึกษาแบบพรรณนาเชิงเปรียบเทียบ (comparative descriptive research) ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบ ความรู้และความเชื่อด้านสุขภาพในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของสตรีในจังหวัดสมุทรปราการ กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีอายุ 25 – 45 ปีจำนวน 2 กลุ่มได้แก่ กลุ่มที่เคยตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 197 คน และกลุ่มที่ไม่เคยตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 151 คน โดยใช้วิธีสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบ ถามประกอบ ด้วย 3 ส่วน ได้แก่แบบสอบถามส่วนบุคคล แบบสอบถามความรู้เกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูก และแบบสอบถามความเชื่อด้านสุขภาพ การวิเคราะห์ข้อมูล โดยวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ความรู้และความเชื่อด้านสุขภาพของกลุ่มที่เคยตรวจและไม่เคยตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยสถิติที (independent t-test) This comparative descriptive research aimed to compare the knowledge and perception of health belief in cervical cancer screening, between two female groups in Samutprakan province in Thailand. The study used a comparative descriptive designwith multistage random sample of 197 women that had had cervical screening and151 women that had received no cervical screening. All participants completed a questionnaire about demographic, cervical cancer knowledge, and perception of healthbelief. Descriptive statistics and Independent t-test were employed to test significant of each hypothesis, respectivelyen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectKnowledgeen_US
dc.subjectHealth Beliefen_US
dc.subjectervical Cancer Screeningen_US
dc.subjectCervical Canceren_US
dc.titleการเปรียบเทียบความรู้และความเชื่อด้านสุขภาพในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของสตรีในจังหวัดสมุทรปราการen_US
dc.title.alternativeA Comparison of Knowledge and Perception of Health BeliefIn Cervical Cancer Screening among Women In Samutprakan Provinceen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.