Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71128
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกัณนิกา บรรยายen_US
dc.contributor.authorโสระยา ร่วมรังษีen_US
dc.contributor.authorณัฐา โพธาภรณ์en_US
dc.date.accessioned2021-01-27T03:33:03Z-
dc.date.available2021-01-27T03:33:03Z-
dc.date.issued2553en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 26, 1 (ก.พ. 2553), 43-50en_US
dc.identifier.issn0857-0858en_US
dc.identifier.urihttps://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/246157/168295en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71128-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 17en_US
dc.description.abstractการศึกษาผลของสภาพความยาววันและกรดจิบเบอเรลลิกต่อปริมาณธาตุอาหารและการออกดอกนอกฤดูของกล้วยไม้ช้างกระ [Rhynchostylis gigantean (Lindl.) Ridl.] โดยกล้วยไม้ช้างกระที่มีอายุ 2.5 ปี ได้รับสภาพความยาววันปกติและสภาพวันสั้น ร่วมกับการให้กรดจิบเบอเรลลิกความเข้มข้น 0 และ 3,000 ppm ในเดือนมิถุนายน ถึง เดือนกันยายน พบว่า สภาพวันสั้นเพียงอย่างเดียว กรดจิบเบอเรลลิกความเข้มข้น 3,000 ppm เพียงอย่างเดียวและสภาพวันสั้นร่วมกับกรดจิบเบอเรลลิกเข้มข้น 3,000 ppm ทำให้กล้วยไม้ออกดอกนอกฤดูได้เร็วกว่ากรรมวิธีควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การวิเคราะห์ปริมาณธาตุอาหารในกรรมวิธีที่ได้รับกรดจิบเบอเรลลิกเข้มข้น 3,000 ppm ส่งผลต่อปริมาณไนโตรเจนและฟอสฟอรัส มีปริมาณน้อยที่สุดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจากกรรมวิธีที่ไม่ได้รับกรดจิบเบอเรลลิกเข้มข้น 3,000 ppm ในเดือนกุมภาพันธ์และกรรมวิธีที่ได้รับสภาพวันสั้น ปริมาณโพแทสเซียมมีปริมาณน้อยที่สุดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจากกรรมวิธีที่ได้รับสภาพความยาววันปกติในเดือนกันยายน Effects of photoperiod and GA3 on off-season flowering of Rhynchostylis gigantea (Lindl.) Ridl. were studied by growing the 2.5-year-old plants under natural condition and short day conditions (10:14 h light:drarkness) along with GA3 3,000 ppm and without GA3 application, during June to September. It was found that when the plants received only short-day, only GA3 3,000 ppm and short-day with GA3 3,000 ppm application could give flower significantly sooner than the control treatment. Plant nutrient content analysis showed that N and P content in February were the least in those plants received GA3 and were significantly different from those in the treatments without GA3. However, K content in September was the least in plants grown under short day conditions and was significantly different from those grown under natural conditions.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectวันสั้นen_US
dc.subjectกรดจิบเบอเรลลิกen_US
dc.subjectธาตุอาหารพืชen_US
dc.subjectShort dayen_US
dc.subjectGA3en_US
dc.subjectplant nutrientsen_US
dc.titleผลของความยาววันและกรดจิบเบอเรลลิกต่อปริมาณ ธาตุอาหารและการออกดอกนอกฤดูของกล้วยไม้ช้างกระen_US
dc.title.alternativeEffects of Photoperiod and GA3 on Plant Nutrients and Off-season Flowering of <I>Rhynchostylis gigantea</I> (Lindl.) Ridl.en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.