Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71120
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorภาณุพล หงษ์ภักดีen_US
dc.contributor.authorโสระยา ร่วมรังษีen_US
dc.date.accessioned2021-01-27T03:33:03Z-
dc.date.available2021-01-27T03:33:03Z-
dc.date.issued2553en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 26, 1 (ก.พ. 2553), 7-14en_US
dc.identifier.issn0857-0854en_US
dc.identifier.urihttps://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/246146/168283en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71120-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 13en_US
dc.description.abstractการศึกษาผลของการให้ไฟคั่นช่วงกลางคืนร่วมกับการใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตต่อการเจริญเติบโตและปริมาณกรดแอบไซสิค ในการผลิตปทุมมานอกฤดู ดำเนินการโดยวางแผนการทดลองแบบสปลิตพล็อต จำนวน 3 ซ้ำ ปัจจัยหลัก คือ 1) การให้แสงไฟธรรมชาติ และ 2) การให้ไฟคั่นช่วงกลางคืน ปัจจัยย่อยคือ การให้สารควบคุมการเจริญเติบโต 4 กรรมวิธี ได้แก่ 1) ชุดควบคุม ไม่ให้สาร 2) แช่สาร GA3100 มิลลิกรัมต่อลิตร 3) แช่สารฟลูริโดน 10 ไมโครโมลาร์ และ 4) แช่สาร GA3100 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับฟลูริโดน 10 ไมโครโมลาร์ ผลการทดลองพบว่า การให้ไฟคั่นช่วงกลางคืน ไม่ส่งผลต่อการเจริญเติบโต ทั้งความสูง และพื้นที่ใบรวมของปทุมมา ขณะที่การให้สารควบคุมการเจริญเติบโตทำให้ต้นปทุมมา มีความสูงและพื้นที่ใบรวม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยการให้ GA3 ทำให้ต้นมีความสูงมากที่สุด การให้ไฟมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกับการให้สารควบคุมการเจริญเติบโต ส่งผลให้ต้นมีความสูงและพื้นที่ใบรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ อย่างไรก็ตาม ทั้งการให้ไฟและการให้สารควบคุมการเจริญ กลับไม่ส่งผล ต่อปริมาณกรดแอบไซสิคในใบ หัวพันธุ์ และตุ้มรากสะสมอาหารของปทุมมา และปฏิสัมพันธ์ระหว่างการให้ไฟร่วมกับ การให้สารควบคุมการเจริญเติบโตไม่ส่งผลต่อปริมาณกรดแอบไซสิคในส่วนต่าง ๆ ของพืชด้วยเช่นกัน The experiment on effect of night interruption and PGRs application on growth and ABA levels in Curcuma alismatifolia Gagnep. off-season productions was conducted. Experimental design was a split plot with 3 replications. The main plots were 1) growing under natural light and 2) night interruption with supplement lighting and the sub plots were 4 PGRs applications: 1) pure water as control 2) Gibberellins (GA3) 100 mg/l 3) fluridone 10 µM and 4) GA3 + fluridone. The result showed that the night interruption did not affect plant growth (height and total leaf area). While the PGRs applications were significantly different in plant height and total leaf area. The GA3 application gave the highest plant height but night interruption had significant interaction with PGRs application in terms of plant height and total leaf area. Both lighting and PGRs applications did not affect endogenous abscisic acid (ABA) levels in plant parts (leaf, mother rhizome and old storage roots) and there was no significant interaction between lighting and PGRs application on ABA levels in plant parts.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการให้ไฟคั่นช่วงกลางคืนen_US
dc.subjectสารควบคุมการเจริญเติบโตen_US
dc.subjectกรดแอบไซสิคen_US
dc.subjectปทุมมาen_US
dc.subjectNight interruptionen_US
dc.subjectPGRsen_US
dc.subjectabscisic aciden_US
dc.subjectCurcuma alismatifoliaen_US
dc.titleผลของการให้ไฟคั่นช่วงกลางคืนร่วมกับการใช้สารควบคุม การเจริญเติบโตต่อการเจริญและปริมาณกรดแอบไซสิค ในการผลิตปทุมมานอกฤดูen_US
dc.title.alternativeEffect of Night Interruption and PGRs Application on Growth and ABA Levels in <I> Curcuma alismatifolia </I> Gagnep. Off-season Productionen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.