Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71108
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorรัตนาภรณ์ ใจมาen_US
dc.contributor.authorฟ้าไพลิน ไชยวรรณen_US
dc.contributor.authorชูชาติ สันธทรัพย์en_US
dc.date.accessioned2021-01-27T03:33:02Z-
dc.date.available2021-01-27T03:33:02Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 36, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2563), 321-332en_US
dc.identifier.issn0857-0844en_US
dc.identifier.urihttps://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/240015/168892en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71108-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 3en_US
dc.description.abstractการศึกษาผลของการจัดการปุ๋ยอย่างเหมาะสมในการผลิตเบบี้คอส ได้ดำเนินการในโรงเรือนปลูกผักของเกษตรกรบนพื้นที่สูง จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างเดือน เมษายน 2562-พฤษภาคม 2562 โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ในบล็อก (RCBD) จำนวน 3 ซ้ำ และ 4 กรรมวิธีทดลอง ซึ่งประกอบไปด้วยการให้ปุ๋ยในระบบน้ำในอัตราที่แตกต่างกัน 3 กรรมวิธี ได้แก่ กรรมวิธีที่ 1 (CFR) ใส่ปุ๋ยไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P2O5) และโพแทสเซียม (K2O) ในอัตรา 39.2, 14.7 และ 32.7 กิโลกรัม/ไร่ ตามลำดับ กรรมวิธีที่ 2 (FCR) ใส่ปุ๋ยไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมในอัตรา 5.9, 4.4 และ 11.4 กิโลกรัม/ไร่ ตามลำดับ กรรมวิธีที่ 3 (SSFM) ใส่ปุ๋ยไนโตรเจนเพียงชนิดเดียว ในอัตรา 5.9 กิโลกรัม/ไร่ และกรรมวิธีที่ 4 เป็นกรรมวิธีควบคุม (control) ไม่มีการใส่ปุ๋ยเคมี ผลการศึกษาพบว่า การใส่ปุ๋ยตามกรรมวิธีที่ 3 (SSFM) มีแนวโน้มทำให้เบบี้คอสมีการเจริญเติบโตดี ให้ผลผลิตทั้งหมด 6.39 ตัน/ไร่ และเป็นผลผลิตที่จำหน่ายได้ 2.65 ตัน/ไร่ ซึ่งมากกว่ากรรมวิธีอื่น ๆ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยเฉพาะเมื่อเปรียบเทียบกับกรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยในอัตราที่เกษตรกรนิยมปฏิบัติ ซึ่งได้ผลผลิตทั้งหมดเพียง 5.02 ตัน/ไร่ และเป็นผลผลิตที่จำหน่ายได้ 2.08 ตัน/ไร่ และนอกจากนี้ยังพบว่า การใส่ปุ๋ยตามกรรมวิธีที่ 3 (SSFM) เป็นการใส่ปุ๋ยที่มีประสิทธิภาพการดูดใช้ปุ๋ยมากที่สุด ข้อมูลจากการศึกษาในครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่า การปลูกเบบี้คอสในดินมีปริมาณอินทรียวัตถุ ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในระดับสูง การใส่ปุ๋ยไนโตรเจนในระบบน้ำ อัตรา 5.9 กิโลกรัม/ไร่ เป็นอัตราที่เพียงพอและเหมาะสมสำหรับการผลิตเบบี้คอสคุณภาพในโรงเรือนบนพื้นที่สูง Study on the effect of fertilizer management for baby cos production was carried out at farmers’ greenhouses on highland in Chiang Mai province from April 2019 to May 2019. The experimental design was a randomized complete block design (RCBD) with 3 replications and 4 treatments. The fertigation treatments were as follows: treatment 1 (CFR), applied N: P2O5: K2O at the rate of 39.2: 14.7: 36.6 kg/rai; treatment 2 (FCR), applied N: P2O5: K2O at the rate of 5.9: 4.4: 11.4 kg/rai and treatment 3 (SSFM), applied nitrogen fertilizer only at the rate of 5.9 kg/rai. The non-fertilizer application was used as a control treatment. The study indicated that the application of nitrogen fertilizer only at 5.9 kg/rai (treatment 3, SSFM) tended to increase the growth of baby cos. The total fresh yield (6.39 ton/rai) and marketable yield (2.65 ton/rai) obtained from treatment 3 (SSFM) which were higher than the other treatments, especially when compared with treatment 1 (CFR), which was applied at the common fertilization rate. The total fresh yield and marketable yield obtained from that treatment was only 5.02 and 2.08 ton/rai, respectively. Besides, the fertilizer application rate of treatment 3 (SSFM) was the highest fertilizer efficiency use. The results from this study suggested that for baby cos production in soil containing a high amount of organic matter, available phosphorus and exchangeable potassium, nitrogen fertilizer application by fertigation system at the rate of 5.9 kg/rai was sufficient and suitable for producing good quality baby cos under greenhouse condition on highland.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการให้ปุ๋ยในระบบน้ำen_US
dc.subjectธาตุอาหารen_US
dc.subjectเบบี้คอสen_US
dc.subjectผลผลิตen_US
dc.subjectFertigationen_US
dc.subjectnutrienten_US
dc.subjectbaby cosen_US
dc.subjectyielden_US
dc.titleการจัดการปุ๋ยที่เหมาะสมสำหรับการผลิตเบบี้คอสในโรงเรือนบนพื้นที่สูง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeAppropriate Fertilizer Management for Baby Cos Production Under Greenhouse Condition on Highland in Chiang Mai Provinceen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.