Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71096
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสมสมัย ใยอุ่นen_US
dc.contributor.authorจุฑามาส คุ้มชัยen_US
dc.contributor.authorยืนหยัด ธีระวัฒน์สกุลen_US
dc.contributor.authorวีณัน บัณฑิตย์en_US
dc.date.accessioned2021-01-27T03:33:01Z-
dc.date.available2021-01-27T03:33:01Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 36, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2563), 291-299en_US
dc.identifier.issn0857-0841en_US
dc.identifier.urihttps://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/225167/168893en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71096-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractผลของ zeatin และ IAA ต่อการชักนำให้เกิดเอมบริโอโดยการเพาะเลี้ยงไมโครสปอร์แบบปล่อยลอยดำเนินการในพริกสายพันธุ์ 17212 โดยใช้อับเรณูที่ส่วนปลายมีสีม่วง 10% ซึ่งมีไมโครสปอร์ในระยะระหว่าง mid และ uninucleate การเติมสารควบคุมการเจริญเติบโตในอาหารเพาะเลี้ยงแบบ 2 ชั้น คือ zeatin 0.0, 0.1, 0.5 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ IAA 0.0, 0.5, 0.8 และ 1.8 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า zeatin 0.1 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ IAA เข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ชักนำให้เกิดเอมบริโอสูงสุดอย่างมีนัยสำคัญ 40.8% และพัฒนาเป็นต้นได้ 35.9% นอกจากนี้การตรวจสอบชุดโครโมโซมด้วยวิธีโฟลไซโทเมทรีในต้นที่พัฒนาจากการเพาะเลี้ยงไมโครสปอร์ พบว่า เป็นแฮพลอยด์ 62% และดับเบิลแฮพลอยด์ 38% ดังนั้นการเพาะเลี้ยงไมโครสปอร์แบบปล่อยลอยสามารถใช้ในการสร้างพริกดับเบิลแฮพลอยด์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ Effects of zeatin and IAA on embryogenesis by shed-microspore culture was carried out on pepper genotype 17212 using anthers with 10% purple tip containing a mixed population of mid to uninucleate microspores. Plant growth regulators supplemented in the double layer media were 0.0, 0.1, 0.5, 1.0 mg/L zeatin with 0.0, 0.5, 0.8, 1.8 mg/L IAA. It was found that 0.1 mg/L zeatin and 0.5 mg/L IAA induced significantly highest 40.8% embryo and 35.9% regenerated plants. Ploidy levels of regenerated plants were determined by flow cytometry. It was found that 62% were haploid and 38% were spontaneous doubled haploid. Transferred shed microspore culture can be used efficiently for double haploid production in pepper.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการเพาะเลี้ยงไมโครสปอร์แบบปล่อยลอยen_US
dc.subjectการเกิดเอมบริโอen_US
dc.subjectดับเบิลแฮพลอยด์en_US
dc.subjectพริกen_US
dc.subjectpepper regemerationen_US
dc.subjectplant growthen_US
dc.subjectdouble haploiden_US
dc.titleผลของ Zeatin และ IAA ต่อการชักนำให้เกิดเอมบริโอของพริก โดยการเพาะเลี้ยงไมโครสปอร์แบบปล่อยลอยen_US
dc.title.alternativeEffects of Zeatin and IAA on Pepper Embryogenesis by Shed-microspore Cultureen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.