Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71086
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPisanu Wongpornchai-
dc.contributor.authorChanin Saengthipen_US
dc.date.accessioned2020-12-03T09:17:26Z-
dc.date.available2020-12-03T09:17:26Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71086-
dc.description.abstractIn the present, the consumption of energy for everyday life increases rapidly. Coal is an energy source that has been continuously produced for a long time and will increase in the future. Surface geological exploration and geologic log are used to find primary coal reserves but sometimes provide insufficient information. Thus, geophysical survey can provide missing information for obtaining more accurate exploration results. The seismic survey is an appropriate method for estimating coal reserves and determining the subsurface structure of the coal zone. The study area is located in the Blackfoot field, Alberta, Canada. The interesting target zone consists of three coal beds interbedded with shale and sandstone. There are two methods in the study, amplitude versus offset (AVO) analysis and pre-stack inversion using 3D pre-stack seismic and nine well log data. AVO analysis is a tool for identifying lithology and predicting fluid in a reservoir, especially hydrocarbon. AVO analysis was used to define AVO class of the coal zone to study the amplitude behavior of seismic wave that reflect at the upper of the target coal zone. The pre-stack seismic data and a well log dataset were used to calculate the pre-stack inversion to generate the inverted volumes such as Vp, Vs and density volumes. The other eight well logs were used as the blind testing to check the accuracy of the inversion result. The relationships of these inverted volumes were used to discriminate the coal zone from the surrounding rocks by crossplot.In conclusion, the coal zone was classified as class 4 AVO. The crossplot between inverted volumes help to predict the coal zone. Especially, Vp/(Vs)2 and density cross plot can be better discriminate the coal zone from surrounding formation in this study area and be helpful to confirm the new coal zone with crossplot of VP/VS and density.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectCoal seamen_US
dc.subjectBlackfoot Fielden_US
dc.subjectAmplitude versusen_US
dc.titleCoal seam distribution using amplitude versus offset analysis and pre-stack inversion in Blackfoot Field, Canadaen_US
dc.title.alternativeการกระจายตัวชั้นถ่านหินโดยใช้การวิเคราะห์การแปรผันแอมพลิจูด กับระยะทางและการผกผันก่อนการซ้อนทับในแหล่งแบล็คฟุต ประเทศแคนาดาen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในปัจจุบันการใช้พลังงานในชีวิตประจำวันเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ถ่านหินเป็นแหล่งพลังงานที่มีการผลิตอย่างต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลานานและจะเพิ่มขึ้นในการสารวจทางธรณีวิทยาพื้นผิวและข้อมูลหลุมสารวจทางธรณีวิทยาจะใช้ในการค้นหาแหล่งปริมาณถ่านหินสำรอง แต่ในบางครั้งอาจได้ข้อมูลที่ไม่เพียงพอ ดังนั้นการสำรวจทางธรณีฟิสิกส์สามารถให้ข้อมูลที่ขาดหายไปเพื่อให้ได้ผลการสำรวจที่แม่นยำยิ่งขึ้น การสำรวจคลื่นไหวสะเทือนเป็นวิธีที่เหมาะสมสำหรับการประเมินปริมาณถ่านหินสำรองและการกำหนดโครงสร้างใต้ผิวดินของโซนถ่านหิน พื้นที่ศึกษาตั้งอยู่ในแหล่งแบล็กฟุต รัฐแอลเบอร์ดา ประเทศแคนาดาชั้นหินเป้าหมายประกอบด้วยชั้นถ่านหิน 3 ชั้น แทรกสลับกับหินดินดานและหินทราย ในการศึกษานี้ประกอบด้วย 2 วิธีคือ 1) การวิเคราะห์การแปรผันแอมพลิจูดกับระยะทางและ 2) การผกผันก่อนการซ้อนทับ โดยใช้ข้อมูลคลื่นไหวสะเทือน 3 มิติ และข้อมูลการหยั่งหลุมเจาะ 9 หลุม การวิเคราะห์การแปรผันแอมพลิจูดกับระยะทางเป็นเครื่องมือตัวหนึ่งที่ใช้ระบุวิทยาหินและของเหลวที่กักเก็บในชั้นหินกักเก็บโดยเฉพาะปิโตรเลียม การวิเคราะห์การแปรผันแอมพลิจูดกับระยะทางใช้ในการกำหนดกลุ่มของโซนถ่านหินเพื่อศึกษาพฤติกรรมของคลื่นไหวสะเทือนที่สะท้อนบริเวณด้านบนของโซนถ่านหินเป้าหมายข้อมูลคลื่นไหวสะเทือนก่อนการซ้อนทับและข้อมูลการหยั่งหลุมเจาะ 1 หลุมถูกนำมาใช้คำนวณการผกผันก่อนการซ้อนทับเพื่อสร้างปริมาตรผกผัน ได้แก่ ปริมาตรผกผันความเร็วคลื่นปฐมภูมิ (Vp) ความเร็วคลื่นทุติยภูมิ (Vs) และความหนาแน่น ส่วนข้อมูลการหยั่งหลุมเจาะอีก 8 หลุมถูกใช้เป็นหลุมทดสอบเพื่อตรวจสอบความแม่นยำของผลลัพธ์การผกผันก่อนการซ้อนทับ ความสัมพันธ์ของปริมาตรผกผันเหล่านี้ถูกนำมาใช้เพื่อจำแนกโซนถ่านหินออกจากหินบริเวณโดยรอบโดยใช้กราฟเทียบข้อมูลสรุปได้ว่าโซนถ่านหินที่ทาการศึกษาการแปรผันแอมพลิจูดกับระยะทางสามารถจำแนกประเภทได้เป็นกลุ่มที่ 4 กราฟเทียบข้อมูลระหว่างปริมาตรผกผันช่วยในการคาดการโซนถ่านหินโดยเฉพาะอย่างยิ่งกราฟเทียบข้อมูลระหว่างปริมาตรผกผัน Vp/(Vs) 2 กับความหนาแน่นสามารถจำแนกโซนถ่านหินได้ดีและเป็นประโยชน์ในการยืนยันโซนถ่านหินใหม่ที่ถูกคาดการโดยกราฟเทียบข้อมูลระหว่างปริมาตรผกผัน Vp/Vs กับความหนาแน่นen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580531123 ชนินทร์ แสงทิพย์.pdf9.54 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.