Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71059
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Charin Mangkhang | - |
dc.contributor.advisor | Sawang Saenbut | - |
dc.contributor.advisor | Chetthapoom Wannapaisan | - |
dc.contributor.author | Apichat Sukaram | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-10-22T08:15:50Z | - |
dc.date.available | 2020-10-22T08:15:50Z | - |
dc.date.issued | 2020-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71059 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research were 1) to study the current conditions and problems of curriculum administration in social studies of Rajabhat universities 2) to study the students’ requirement for the administration of curriculum in social studies of Rajabhat universities 3) to present the scenario for the social studies curriculum of the Rajabhat universities in the next decade. The methodology of the research consists of 3 steps as follows: step 1: studying the problems of curriculum administration in social studies of Rajabhat universities, step 2: examining the students’ requirement for the administration of curriculum in social studies of Rajabhat universities, step 3: synthesizing the information and presenting the scenario for the social studies curriculum of the Rajabhat universities in the next decade. The populations of the research were executives, faculty members and students in the social studies department, faculty of education in the Rajabhat universities of the north. The samples were composed of 353 executives, faculty members and students in the social studies department, faculty of education in the Rajabhat universities of the north. The research tools were 1) questionnaires of the current conditions and problems of the administration of curriculum in social studies of Rajabhat universities 2) questionnaires of the students’ requirement for the administration of curriculum in social studies of Rajabhat universities 3) interviews on the topics of the scenario for the social studies curriculum of the Rajabhat universities in the next decade. The collected data were tested by using percentage, mean and standard deviation. The results revealed that: The scenario for the social studies curriculum of the Rajabhat universities in the next decade had the important scenario and future trends as follows: 1) Philosophy of the course Emphasizing that students are knowledgeable in the field of social studies Independent thinking based on good accuracy Respect the criteria of society and law. Are good world citizens. 2) Course objectives Focus on developing quality learners in accordance with the standards of the Teachers Council of Thailand, Ministry of Education. Develop students to have TPACK skills. 3) The structure of the curriculum is flexible and consists of Important subjects in everyday life related to today's global society and the 21st century, With integration technology and content in a systematic learning design (TPACK). The number of credits is likely to decrease. 4) The policy and supporting aspect-Provide enough budgets, there were stable policy from the government, produce social teachers and closed system with a limited number of receipts. And motivate good students to become teachers. 5) The curriculum aspect-there were improved the curriculum structure to be diverse in accordance with the standard qualifications at the bachelor's degree level (TQF.1) by the Office of the Higher Education Commission. Use online courses. 6) The instructor aspect-Specialize in Social studies and conduct online classes. 7) The student aspect-Selecting students who met the specified criteria with committees from many sectors. 8) The aspect of teachers' professional experience training-Provide teaching profession training sources that were guaranteed and improve administrative system of teaching profession training. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | Scenario Social Studies Curriculum | en_US |
dc.subject | Rajabhat Universities | en_US |
dc.subject | Next Decade | en_US |
dc.title | The Scenario for the social studies curriculum of the Rajabhat Universities in the next decade | en_US |
dc.title.alternative | อนาคตภาพหลักสูตรสาขาวิชาสังคมศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏในทศวรรษหน้า | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพและปัญหาของการบริหารจัดการหลักสูตรสาขาวิชาสังคมศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏ 2) ศึกษาความต้องการในการบริหารจัดการหลักสูตรสาขาวิชาสังคมศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏ 3) เสนอภาพอนาคตหลักสูตรสาขาวิชาสังคมศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏในทศวรรษหน้า วิธีการดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาสภาพปัญหาของการบริหารจัดการหลักสูตรสาขาวิชาสังคมศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาความต้องการของการบริหารจัดการหลักสูตรสาขาวิชาสังคมศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ขั้นตอนที่ 3 สังเคราะห์ข้อมูลและนำเสนอภาพอนาคตหลักสูตรสาขาวิชาสังคมศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏในทศวรรษหน้า ประชากรคือ ผู้บริหาร คณาจารย์ และนักศึกษาสาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ในเขตภาคเหนือ กลุ่มตัวอย่างเป็น ผู้บริหาร คณาจารย์ นักศึกษาสาขาวิชาสังคมศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ในเขตภาคเหนือ จำนวน 353 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามสภาพและปัญหาของการบริหารจัดการหลักสูตรสาขาวิชาสังคมศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏ แบบสอบถามความต้องการของการบริหารจัดการหลักสูตรสาขาวิชาสังคมศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏ และแบบสัมภาษณ์อนาคตภาพหลักสูตรสาขาวิชาสังคมศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏในทศวรรษหน้า วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ภาพอนาคตหลักสูตรวิชาสังคมศึกษาคณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏในทศวรรษหน้า มีภาพที่สำคัญและแนวโน้มในอนาคต ดังนี้ 1) ด้านปรัชญาของหลักสูตรเน้นให้ผู้เรียนมีความรอบรู้ในศาสตร์ทางด้านสังคมศึกษา มีความคิดอย่างอิสระบนพื้นฐานของความถูกต้องดีงาม เคารพเกเกณฑ์ของสังคมและกฎหมาย เป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลกที่ดี 2) ด้านวัตถุประสงค์ของหลักสูตร เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานของคุรุสภา มคอ.1 พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถด้าน TPACK 3) ด้านโครงสร้างของหลักสูตร มีความยืดหยุ่น ประกอบด้วย กลุ่มวิชาที่มีความสำคัญในชีวิตประจำวันที่เกี่ยวข้องกับสังคมโลกปัจจุบันและศตวรรษที่ 21 มีการบูรณาการณ์ความรู้ความสามารถทักษะ การผสมผสานการใช้สื่อนวัตกรรมเทคโนโลยีกับวิธีสอนสัมพันธ์กับเนื้อหา( TPACK ) จำนวนหน่วยกิตมีแนวโน้มลดลง 4) ด้านนโยบายและสิ่งสนับสนุน มีงบประมาณสนับสนุนที่เพียงพอ รัฐบาลมีนโยบายที่แน่นอน ผลิตครูเป็นระบบปิด จำกัดจำนวนรับ และมีการสร้างแรงจูงใจให้คนดีคนเก่งเลือกเรียนครู 5) ด้านหลักสูตร เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานของครุสภา สกอ. และ มคอ.1 มีหลักสูตรออนไลน์ 6) ด้านคณาจารย์มีความเชี่ยวชาญ แม่นยำในศาสตร์ทางสังคมศึกษา มีความสามารถจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ 7) ด้านนักศึกษา คัดเลือกนักศึกษาผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยมีกรรมการคัดเลือกมาจากหลายส่วน 8) ด้านการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูมีแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพที่ผ่านการรับรองการประเมินคุณภาพ และมีระบบการบริหารการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูที่มีคุณภาพ | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
570251015 อภิชาติ สุขอร่าม.pdf | 1.81 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.