Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71040
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Danaitun Pongpatcharatrontep | - |
dc.contributor.author | Yin Yilan | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-10-21T03:12:09Z | - |
dc.date.available | 2020-10-21T03:12:09Z | - |
dc.date.issued | 2020-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71040 | - |
dc.description.abstract | In recent years, Thailand exports fresh tropical fruits to China far exceeding other countries by type and amount, accounting for 24.68% of the total Chinese tropical fruits import. The Chinese market has expanded rapidly since the introduction of the Free Trade Agreement (FTA) between Thailand and China in 2003, after that Thai fruit exports to China has grown significantly. In 2009, Thailand fresh fruit export to China was worth 14.36 billion Baht, which soared up to 1.15 billion US dollars in 2016. Such growth rate has attracted many entrepreneurs in this business. The research has found that, there are three main types of business model for exporting Thai fruit to Chinese market. The first is the traditional B2B logistic model, and the second is the modern B2C e-commerce model, and the latest innovation B2B2C business model. The research applied a value chain analysis and supply chain analysis to evaluate these three models by analyzing the value and non-value activities of them. The result showed that, with a convenient cross-border transportation via R3A road and the rapid development of Chinese online platform, Chiang Mai fruit community enterprise could have easy access to connecting with customers directly and shipping to customers with competitive price. Therefore, this paper intends to create a knowledge map to share critical knowledge about how to develop innovation B2B2C business model to Chiang Mai fruit community enterprise. This new model not only increases the information flow efficiency by using online shopping platform, but also reduces the logistic cost by using multi-model transportation method (including: R3A road for cross border transportation and China domestic express delivery) to deliver the products to the end customers. The shortening of the supply chain also greatly guarantees the quality of the fruit, and the needs of customers can be better grasped, at the same time, the interests of the organization are guaranteed to the maximum extent. | en_US |
dc.language.iso | en_US | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | B2B2C | en_US |
dc.subject | Value chain analysis | en_US |
dc.subject | e-Commerce | en_US |
dc.subject | Chiang Mai fruit community | en_US |
dc.title | A Value chain analysis of B2B2C cross-border e-commerce for Chiang Mai fruit community enterprise | en_US |
dc.title.alternative | การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ข้ามแดน แบบบีทูบีทูซีของผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนผลไม้ จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา มูลค่าการส่งออกผลไม้สดเมืองร้อนจากประเทศไทยไปสู่ตลาดประเทศจีนได้ขยายตัวสูงกว่าประเทศอื่นๆ โดยเมื่อเทียบกับการส่งออกผลไม้สดทั้งชนิดและปริมาณของผลไม้ไปยังประเทศจีนมีภาพรวมการนำเข้าผลไม้ในประเทศจีนจากประเทศไทยอยู่ที่ 24.68% ซึ่งมากกว่าการนำเข้าของผลไม้สดจากประเทศอื่นๆ สาเหตุที่ทำให้การส่งออกผลไม้ไปยังประเทศจีนมีการขยายตัวอย่างมีนัยสำคัญ เนื่องมาจากประเทศไทยและประเทศจีนได้มีการทำข้อตกลงทางการค้าแบบเสรี โดยเกิดขึ้นตั้งแต่ปี 2003 ซึ่งทำให้เกิดการขยายตัวของตลาดส่งออกผลไม้ไปยังประเทศจีนอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ในปี 2009 มูลค่าการส่งออกผลไม้สดจากไทยไปจีนมีมูลค่าอยู่ที่ 14,360 ล้านบาท ซึ่งได้มีมูลค่าเพิ่มขึ้นเป็น 1,150 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2016 และเนื่องจากการเจริญเติบโตแบบก้าวกระโดดนี้นำมาซึ่งการเพิ่มขึ้นของผู้ประกอบการใหม่ในธุรกิจการส่งออกผลไม้สดไปยังประเทศจีน จากการค้นคว้าและวิจัยพบว่า รูปแบบธุรกิจสำหรับการส่งออกผลไม้ไปยังตลาดประเทศจีนมีอยู่ 3 รูปแบบด้วยกัน ซึ่งงานวิจัยนี้ได้ทำการวิเคราะห์และศึกษาพฤติกรรมทั้ง 3 รูปแบบ ซึ่งได้แก่ รูปแบบที่หนึ่ง รูปแบบการขนส่งโลจิสติกส์แบบดั้งเดิม แบบB2B, รูปแบบที่สอง รูปแบบธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ แบบ B2C และรูปแบบที่สาม รูปแบบนวัตกรรมทางธุรกิจแบบ B2B2C โดยในงานวิจัยได้มีการใช้เครื่องมือการวิเคราะห์ระบบห่วงโซ่คุณค่าและระบบห่วงโซ่อุปทาน เพื่อทำการประเมินรูปแบบทางธุรกิจทั้งสามรูปแบบธุรกิจ โดยจะวิเคราะห์เกี่ยวกับกิจกรรมที่เพิ่มมูลค่า และกิจกรรมที่ไม่เพิ่มมูลค่าของทั้งสามรูปแบบธุรกิจ ทั้งนี้ผลการวิจัยพบว่าผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนผลไม้จังหวัดเชียงใหม่มีความได้เปรียบทางการแข่งขันเมื่อเทียบกับคู่แข่ง ทั้งทางด้านราคาและด้านความสามารถการเข้าถึงผู้บริโภคที่สามารถติดต่อได้ได้โดยตรงอันเนื่องมาจากระบบการขนส่งข้ามชายแดนเส้นทาง R3A และการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วของแพลตฟอร์มออนไลน์ในประเทศจีน ทำให้ผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนผลไม้จังหวัดเชียงใหม่สามารถจัดส่งสินค้าให้กับผู้บริโภคได้อย่างรวดเร็วอีกด้วย อีกทั้งงานวิจัยนี้ได้ทาการศึกษาและคิดค้นแผนที่ความรู้เพื่อทำการเผยแพร่ข้อมูลที่มีความสำคัญและจำเป็นในการพัฒนาระบบแผนธุรกิจรูปแบบนวัตกรรมทางธุรกิจแบบ B2B2C สำหรับผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนผลไม้จังหวัดเชียงใหม่ ทั้งนี้รูปแบบธุรกิจใหม่นี้ไม่เพียงแต่เพิ่มประสิทธิภาพการไหลของข้อมูลในระบบธุรกิจโดยการซื้อสินค้าผ่านระบบแพลตฟอร์มออนไลน์เท่านั้น แต่ยังช่วยลดต้นทุนทางด้านโลจิสติกส์ในระบบธุรกิจ โดยมีการใช้รูปแบบกระบวนการขนส่งต่อเนื่องหลากหลายรูปแบบเข้ามาในกระบวนการจัดส่งสินค้าไปยังลูกค้าปลายทาง (โดยการเพิ่มเส้นทางสาย R3A สำหรับการขนส่งสินค้าข้ามชายแดนรวมไปถึงการขนส่งสินค้าแบบด่วนภายในประเทศจีน) ทั้งนี้การลดขั้นตอนในระบบห่วงโซ่อุปทานทำให้เป็นผลดีอย่างมากต่อคุณภาพของผลไม้ อีกทั้งยังสร้างความพึงพอใจและประทับใจให้กับลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น ในขณะเดียวกันก็ทำให้องค์กรได้รับผลประโยชน์อย่างสูงสุดอีกด้วย | en_US |
Appears in Collections: | CAMT: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
582131004 YIN YILAN.pdf | 4.93 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.