Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69922
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุสันหา ยิ้มแย้มen_US
dc.date.accessioned2020-10-08T08:36:17Z-
dc.date.available2020-10-08T08:36:17Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 43,2 (เม.ย.-มิ.ย. 2559) 142-151en_US
dc.identifier.issn0125-5118en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/74649/60165en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69922-
dc.descriptionวารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาลen_US
dc.description.abstractหุ่นจำลองที่เลียนแบบเสมือนจริงเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นเพื่อใช้ในกระบวนการเรียนรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ซึ่งผู้เรียนต้องเรียนรู้ถึงโครงสร้างและทักษะทางกายภาพ การทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายอย่างถูกต้องและแม่นยำ รวมทั้งฝึกทักษะเพื่อเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจ และสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้เรียนก่อนที่จะปฏิบัติจรงกับผู้ป่วย อันจะเป็นผลดีและปลอดภัยแกผู้ป่วยด้วยหุ่นจำลองในสถานศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่เปิดสอนทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ แต่บางสถาบันพยายามแก้ปัญหาด้วยการผลิตหุ่นจำลองใช้เอง นอกจากนี้หุ่นจำลองส่วนใหญ่ผลิตจากสารสังเคราะห์จำพวก เรซิ่น ไฟเบอร์กลาส และ/หรือซิลิโคน ซึ่งต้องนำเข้าจากต่างประเทศ ทำให้ต้นทนในการผลิตจึงค่อนข้างสูง และอาจจะก่อให้เกิดปัญหาในการดูแลเก็บรักษา รวมทั้งทำให้หุ่นจำลองที่มีส่วนประกอบทำด้วยสารสังเคราะห์บางอย่างเสื่อมสภาพได้ง่าย เพราะสภาพภูมิอากาศที่แตกต่าง จึงมีการพยายามในการค้นหาสารธรรมชาติอื่นทดแทน ตัวอย่างเช่น ยางพารา ที่มีพืชที่หาได้ง่ายในท้องถิ่นประเทศไทยและราคาถูกกว่า การนำสารธรรมชาติยางพารามาใช้ผลิตเป็นหุ่นจำลองทดแทนวัสดุสารสังเคราะห์จึงก่อให้เกิดประโยชน์และมีคุณค่าทางวิชาการอย่างยิ่งและยังเป็นการสนับสนุนนโยบายรัฐขั้นตอนการพัฒนาหุ่นจำลองประกอบด้วย 1) การรวบรวมข้อมูลและความต้องการในการใช้ 2) ออกแบบร่างหุ่นจำลอง 3) การสร้างต้นแบบ 4) การประเมินผล หากได้ผลดี ก็นำมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ได้เลย ถ้ายังไม่ดีจะเข้าสู่ 5) การปรับปรุงผลิตใหม่ จนเป็นที่พึงพอใจ 6)ผลิตภัณฑ์ ที่มีคุณภาพตามต้องการ ซึ่งในการประเมินคุณภาพของหุ่นจำลองที่พัฒนาขึ้นโดยใช้เกณฑ์มาตรฐานที่เป็นที่ยอมรับเป็นแนวทางในการประเมิน Simulation model as an imitate thing is important and necessary for learning process of health sciences. The learners must learn about structure, anatomy, function of organs correctly and accurately as well as training skill for better understand and increasing confidence before practice with clients at the clinic. This would be benefts and safety for client too. Most simulation models have to order from abroad, so the cost is quite expensive then it is limitation use in health science education institutions. However, some institutions tries to solve this problem by developing their own model. In addition, most models are produced from resin, fber-glass, and/or silicone. The production cost still be high and some might have problem for maintenances and easy to deteriorate before of different weather. Thus, many inventors try to replace with natural substance such as rubber is available and cheap local plant. The use of rubber for producing model instead of synthesized substance is very useful and valuable in education purpose as well as response to national policy. The process of developing stimulation model consists of 1) Gather reguirement), 2) Quick design 3) Building prototype 4) Evaluation, if it was statisfied it could develop product. If not, it will move to 5) Refine prototype, until satisfaction with 6) Product. The evaluation of its quality should use the standard critiria for evauation guideline.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectหุ่นจำลองen_US
dc.subjectการฝึกทักษะทางคลินิกen_US
dc.subjectวิทยาศาสตร์สุขภาพen_US
dc.subjectStimulation Modelen_US
dc.subjectClinical Training Skillen_US
dc.subjectHealth Sciencesen_US
dc.titleการพัฒนาหุ่นจำลองเพื่อฝึกทักษะทางคลินิกของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพen_US
dc.title.alternativeDeveloping Stimulation Model for Training Clinical Skill of Health Science Studentsen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.