Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69831
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ชาลิณี พิพัฒนพิภพ | en_US |
dc.contributor.author | รุ่งเรือง พัฒนากุล | en_US |
dc.contributor.author | คมกฤต เล็กสกุล | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-10-08T07:27:24Z | - |
dc.date.available | 2020-10-08T07:27:24Z | - |
dc.date.issued | 2563 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 27, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2563), 216-226 | en_US |
dc.identifier.issn | 0857-2178 | en_US |
dc.identifier.uri | http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/27_2/16.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69831 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ได้นำเสนอรูปแบบใหม่สำหรับการออกแบบและสร้างอุปกรณ์ของไหลจุลภาคสำหรับการแยกอนุภาคที่มีประจุด้วยเจลอิเล็กโทรดเพื่อสร้างสนามไฟฟ้าในการดัดแยกอนุภาคแบบอิเล็กโตรโฟรีซิส การใช้เจลอิเล็กโทรดนี้เพื่อช่วยแก้ปัญหาการเกิดออกไซด์สารเคมีของโลหะที่นำมาทำเป็นขั้วอิเล็กโทรดเมื่อมีการสัมผัสกับของไหลในช่องการไหลจุลภาค และเพื่อป้องกันสารตัวอย่างบางชนิดที่สัมผัสแส้วทำให้เกิดการกัดกร่อน เกิดปฏิกิริยาทางเคมีกับขั้วอิเล็กโทรดและเพื่อ ป้องกันการเกิดความร้อนอันจะส่งผลให้ช่องการไหลมีฟองอากาศซึ่งจะเป็นตัวขัดขวางการเดินทางของไหลตัวอย่างในช่อง การไหลซึ่งจะทำให้เกิดอุปสรรคอย่างมากในการแยกอนุภาค ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงได้นำเสนอแนวทางการออกแบบและสร้าง ขั้วอิเล็กโทรดด้วยการใช้เจลอิเล็กโทรดสำหรับการประยุกต์การแยกอนุภาคเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในด้านเทคโนโลยีชีวภาพ โดยได้ออกแบบโครงสร้างด้วยโปรแกรมคอมพิวตอร์ จากนั้นสร้างอุปกรณ์ของไหลจุลภาคสำหรับการแยกอนุภาคที่มีประจุด้วยเจลอิเล็กโทรดด้วยเทคนิคการสร้างชิ้นส่วนจุลภาค และทำการทดสอบการแยกอนภาคที่มีประจุด้วยอุปกรณ์ของไหล จุลภาคสำหรับการแยกอนุภาคที่มีประจุด้วยเจลอิเล็กโทรดซึ่งทำการเชื่อมต่อกับแหล่งจ่ายไฟ 1 โวลต์ พบว่าโครงสร้างที่ได้ สามารถแยกอนุภาคที่มีประจุด้วยเปอร์เซ็นต์ความแม่นยำของอนุภาคที่มีประจุลบ 82.18% และอนุภาคที่มีประจุบวกที่ 79.92% ตามลำดับ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | อุปกรณ์ของไหฃจุลภาค | en_US |
dc.subject | การแยกอนุภาคที่มีประจุ | en_US |
dc.subject | เจลอิเล็กโทรด | en_US |
dc.subject | Microfluidic chip | en_US |
dc.subject | charged beads separation | en_US |
dc.subject | gel electrodes | en_US |
dc.title | การออกแบบและการสร้างอุปกรณ์ของไหลจุลภาคสำหรับการแยกอนุภาคที่มีประจุด้วยเจลอิเล็กโทรด | en_US |
dc.title.alternative | Design and Fabrication of Microfluidic chip for Charged Beads Separation using Gel Electrodes | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.