Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69830
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorภูมินทร์ คงโตen_US
dc.contributor.authorอาคม ปะหลามานิตen_US
dc.contributor.authorสุเมธ ไชยประพัทธ์en_US
dc.contributor.authorนคร ทิพยาวงศ์en_US
dc.date.accessioned2020-10-08T07:27:24Z-
dc.date.available2020-10-08T07:27:24Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 27, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2563), 121-150en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/27_2/10.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69830-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีen_US
dc.description.abstractกระบวนการเปลี่ยนรูปชีวมวลป็นเชื้อเพลิงหรือพลังงานชีวภาพด้วยกระบวนการทางเคมีความร้อนนั้นมีอยู่หลากหลาย เช่น ทอร์รีแฟคชั่น ไพโรไลซิส แก๊สซิพีเคชั่น และการเผาไหม้ การเลือกใช้กระบวนการที่ต่างกันทำให้ได้เชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ต่างกันซึ่งอาจจะมีสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว ก๊าซ หรือพลังงานความร้อนและ พลังงาน ไฟฟ้า การเลือกใช้เทคโนโลยีหรือกระบวนการดังกล่าวขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น (1) ชนิด รูปแบบและองค์ประกอบของชีวมวล (2) เป้าหมายการใช้เชื้อเพลิงหรือพลังงาน เช่น การใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อผลิตความร้อน ไฟฟ้า หรือการใช้เป็นเชื้อเพลิงสำหรับยานยนต์ (3) การจัดเก็บและการขนส่ง (4) ต้นทุนการผลิตหรือการเปลี่ยนรูป และ (5) ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและการยอมรับของสังคมหรือประชาชน สำหรับเทคโนโลยีทอร์รีแฟกชั่นนั้นเป็นกระบวนการปรับปรุงคุณภาพชีวมวลแข็ง โดยใช้ความร้อนในช่วงอุณหภูมิ 200-300 องศาเซลเซียส ภายใต้สภาวะที่ไม่มีออกซิเจนหรือจำกัดออกซิเจน เพื่อทำให้ความชื้นและสารระเหยเบา (Light volatile) เกิดการระเหยออกจากชีวมวล ซึ่งชีวมวลที่ผ่านกระบวนการดังกล่าวจะมีค่าความร้อนและความหนาแน่นพลังงานสูงขึ้น อีกทั้งยังช่วยปรับปรุงสมบัติคนอื่น เช่น การดูดซับความชื้นต่ำ ลดการย่อยสลายทางชีวภาพหรือเสื่อมสภาพในระหว่างการเก็บรักษา ด้วยสมบัติดังกล่าวทำให้ชีวมวลทอร์รีไฟด์ได้รับความสนใจมากยิ่งขึ้นสำหรับการนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงหรือเชื้อเพลิงร่วมกับถ่านหินในการผลิตความร้อนและ ไฟฟ้า อย่างไรก็ตามการผลิตชีวมวลทอร์ริ ไฟด์ (Torefied bomas) ให้ได้คุณภาพหรือมีสมบัติที่ดีนั้นขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น ชนิดและสมบัติชีวมวล (Type and property of biomass) เงื่อนไขการดำเนินการที่ใช้ (Operating parameters) หรือชนิดของเตาปฏิกรณ์ที่ใช้ (Type of ractor) ดังนั้นบทความนี้จึงนำเสนอเกี่ยวกับเทคโนโลยีทอร์รี่แฟกชั่นชีวมวลโดยมีเนื้อหาครอบกลุม นิยาม เทคโนโลยี รูปแบบ ปัจจัยที่ส่งผลต่อปริมาณและคุณภาพของชีวมวลทอร์รีไฟด์ สมบัติทางกายภาพและเคมี ข้อดี ข้อจำกัด รวมถึงการใช้ประโยชน์ชีวมวลทอร์ริไฟด์ เพื่อเป็นแนวทางสำหรับผู้ที่สนใจศึกษาและประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพชีวมวลสำหรับใช้เป็นเชื้อเพลิงชีวภาพที่ยั่งยืนต่อไป The conversion processes of biomass into biofuels or bioenergy via thermochemical process can be performed by several processes such as torrefaction, pyrolysis, gasification and combustion. The use of different biomass conversion processes provides the different biofuels or bioenergy forms, for example, solid, liquid, gas, heat and power. The criterion for selecting biomass conversion processes depend on many factors, including (1) type and property of biomass (2) target for using biofuels or bioenergy such as using as fuel for heat and power generation and using as vehicle fuels (3) storage and transportation (4) production and conversion cost and (5) environmental impacts and social acceptance. For the torrefaction process, it is the process used to improve the biomass property by using heat at the temperature range of 200-300°C under absence or controlled oxygen conditions. With this process, the moisture and light volatile will be removed, resulting in torrefied biomass with higher heating value and energy density. The torrefied biomass also has better property such as low moisture and water absorbability and low biological activity during storage. With a better property of torrefied biomass, the industry and power sectors have more increasingly interested in torrefied biomass for using as fuel or co-firing with coal in heat and power generation. However, production of torrefied biomass with a good property depends on several factors such as type and property of biomass, operating parameters and types of reactor. Therefore, this review article presents biomass torrefaction technology. The detail of this article covers the definition, torrefaction technology, types of torrefaction processes, effects of operating parameters on quality and quantity of torrefied biomass, the physiochemical property of torrefied biomass, advantages and disadvantages of torrefied biomass, as well as the use of torrefied biomass. This review article will be a guideline for the readers who interest in biomass torrefaction technology for sustainable development and application in the future.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectชีวมวลen_US
dc.subjectการเปลี่ยนรูปชีวมวลen_US
dc.subjectทอร์รี่แฟคขั่นen_US
dc.subjectชีวมวลทอร์รีไฟด์en_US
dc.subjectเชื้อเพลิงชีวภาพแข็งen_US
dc.subjectBiomassen_US
dc.subjectBiomass conversionen_US
dc.subjectTorrefactionen_US
dc.subjectTorrefied biomassen_US
dc.subjectSolid biofuelen_US
dc.titleบทความปริทัศน์ : เทคโนโลยีทอร์รีแฟคชั่นชีวมวลเพื่อผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพแข็งคุณภาพสูงen_US
dc.title.alternativeBiomass torrefaction technology for producing high quality solid biofuelsen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.