Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69822
Title: การบริหารจัดการและควบคุมความเสี่ยงเชิงคุณภาพสำหรับบรรจุภัณฑ์ขวดพลาสติกที่มีการลดน้ำหนัก
Other Titles: Quality Risk Management and Control for Plastic Bottle Weight Reduction
Authors: ณัฐการต์ ชูวงษ์วัฒนะ
นภัสสวงศ์ โอสถศิลป์
ประเสริฐ อัครประถมพงศ์
Authors: ณัฐการต์ ชูวงษ์วัฒนะ
นภัสสวงศ์ โอสถศิลป์
ประเสริฐ อัครประถมพงศ์
Keywords: ขวดลดน้ำหนัก;แรงในการปิดฝา;การประเมินความเสี่ยง;การวิเคราะห์ข้อบกพร่องและผลกระทบ;แผนผังก้างปลา;การออกแบบการทดลอง;แผนการทดลองแบบเซ็นทรัลคอมโพสิต
Issue Date: 2563
Publisher: คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Citation: วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 27, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2563), 66-77
Abstract: การลดน้ำหนักบรรจุภัณฑ์ขวดพลาสติกเพื่อประหยัดต้นทุนวัตถุดิบนั้น ส่งผลให้บรรจุภัณฑ์บางลง เมื่อนำเข้าสู่กระบวนการบรรจุผ่านกระบวนการต่าง ๆ ที่มีแรงมากระทำต่อขวด ทำให้เกิดข้อบกพร่องที่ไม่คาดคิดจำนวนมากขึ้นบนบรรจุภัณฑ์พลาสติกนั้น ดังนั้นงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาประเด็นข้อบกพร่อง ประเมินและบริหารจัดการความเสี่ยงเชิงคุณภาพเบื้องต้น รวมท้ังดำเนินการจัดการลดข้อบกพร่องเชิงคุณภาพที่เกิดขึ้นจากการใช้บรรจุภัณฑ์ลดน้ำหนักใน กระบวนการบรรจุเพื่อให้องค์กรบรรลุเป้าหมายการลดต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพภายใต้ระดับคุณภาพที่องคก์รและลูกค้า ยอมรับได้โดยงานวิจัยนี้ได้ใช้หลักการวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง ใช้เทคนิคเครื่องมือการวิเคราะห์ลักษณะข้อบกพร่องของกระบวนการและผลกระทบ และการออกแบบการทดลองแบบ Faced Central Composite (FCC) เพื่อ หาปัจจัยหลักและค่าปรับตั้งที่เหมาะสมต่อการใช้บรรจุภัณฑ์ลดน้ำหนักในกระบวนการบรรจุซึ่งผลการดำเนินงานวิจัย สามารถลดข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นจากการใช้ขวดบรรจุภัณฑ์ลดน้ำ หนักได้โดยก่อนปรับปรุงพบสัดส่วนข้อบกพร่อง 11% และหลังปรับปรุงพบสัดส่วนข้อบกพร่องเพียง 0.06% สามารถลดจำนวนข้อบกพร่องในกระบวนการบรรจุได้ถึง 99% Reducing weight of plastic bottle help to reduce production costs, the plastic bottles become thinner due to less plastic content. Resulting in defects that occurs when the packaging light weight is carried in the filling line. In this research, the objectives are to do the risk analysis and assessment to evaluate the defects that might happen and to reduce the defects caused by the use of packaging light weight in the mouthwash filling process. The researcher used the principle of risk analysis and assessment, Process Failure Mode and Effect Analysis (PFMEA) and Faced Central Composite (FCC) design of experiment to find the main factors and the appropriate settings to reduce defects that generated by the use of light weight mouthwash bottles in the filling process. The result of this research can reduce the percentage of defect causing by the use light weight packaging in filling process from 11% to 0.06% that mean the defects is decreased 99% in the filling process.
Description: วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
URI: http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/27_2/06.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69822
ISSN: 0857-2178
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.