Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69820
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธนากรณ์ สุขคะโตen_US
dc.contributor.authorมักตาร์ แวหะยีen_US
dc.contributor.authorจันทกานต์ ทวีกุลen_US
dc.contributor.authorอิบรอเฮ็ง ปิยาen_US
dc.contributor.authorนิโอะ ปูซูen_US
dc.contributor.authorปริญญา พานิชย์en_US
dc.contributor.authorชยุต นันทดุสิตen_US
dc.date.accessioned2020-10-08T07:27:24Z-
dc.date.available2020-10-08T07:27:24Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 27, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2563), 91-105en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/27_2/08.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69820-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีen_US
dc.description.abstractในงานวิจัยนี้ศึกษาการลดอุณหภูมิให้กับแผงเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดโพลีคริสตัลไลน์ซิลิกอน ด้วยการติดตั้งโมดูลระบายความร้อนเข้ากับด้านหลังของแผง ซึ่งโมดูลระบายความร้อนนี้มีช่องบังกับการ ไหลแบบวกกลับและครีบสร้างความปั่นป่วนรูปตัววีมุม 45 ติดตั้งอยู่ภายในเพื่อเพิ่มความสามารถในการถ่ายเทความร้อน โดยน้ำที่ไหลผ่านโมดูลระบายความร้อนจะดึงความร้อนที่สะสมออกจากแผงเซลล์แสงอาทิตย์ทำให้อุณหภูมิของแผงลดลงและได้น้ำร้อนมาใช้ประโยชน์ เรียกระบบดังกล่าวว่า แผงรับแสงอาทิตย์แบบผลิตไฟฟ้าและความร้อนหรือแผ่ PV/T ในการทดสอบได้ประเมินประสิทธิภาพทางไฟฟ้า ประสิทธิภาพทางความร้อนและพลังงานสุทธิที่ผถิตได้จากแผง PV/T เปรียบเทียบกับแผง PV แบบทั่วไปที่สภาวะการใช้งานจริงและกำหนดอัตราการ ไหลของน้ำในระบบแผง PV/T ที่ 0.5, 1.0 และ 1.5 kg/s จากผลการทดสอบพบว่า แผง PV/T มีประสิทธิภาพทางไฟฟ้าและประสิทธิภาพทางความร้อนที่ 14.20-14.90% และ 40.70-44.30% ตามลำดับและมีกำลังไฟฟ้าที่ผลิตได้สูงกว่าแผง PV ที่ใช้อ้างอิงสูงสุดถึง 13.97% This research studied temperature reduction of Polycrystalline silicon photovoltaic panel with the cooling module installed at the back panel. Serpentine channel and 45° V-shaped rib turbulators were attached inside the cooling module for enhance heat transfer ability. Water flow inside the cooling module will absorb the accumulated heat in the PV panel and produced hot water for usage. This design was called Photovoltaic/Thermal or PV/T panel. In this experiment, electrical, thermal efficiencies and net energy which produce by PV/T panel were evaluated and compared with normal PV panel at the real conditions for water flow rate of PV/T system are 0.5, 1.0 and 1.5 kg/s. The results showed the electrical and the thermal efficiencies of the PV/T were 14.20-14.90% and 40.70-44.30% respectively and more electrical power than PV panel about 13.97%en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectแผง PV/Ten_US
dc.subjectครีบสร้างความปั่นป่วนen_US
dc.subjectประสิทธิภาพทางไฟฟ้าen_US
dc.subjectประสิทธิภาพทางความร้อนen_US
dc.subjectPV/T panelen_US
dc.subjectRib turbulatoren_US
dc.subjectElectrical efficiencyen_US
dc.subjectThermal efficiencyen_US
dc.titleการเพิ่มสมรรถนะของแผงรับแสงอาทิตย์แบบผลิตไฟฟ้าและความร้อนโดยใช้เทคนิคเพิ่มความสามารถถ่ายเทความร้อนen_US
dc.title.alternativePerformance Improvement of Photovoltaic/Thermal Panels by Using Heat Transfer Augmentationen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.