Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69819
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธเนศพล บุญประกอบen_US
dc.contributor.authorพุทธิพล ดำรงชัยen_US
dc.date.accessioned2020-10-08T07:27:24Z-
dc.date.available2020-10-08T07:27:24Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 27, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2563), 78-90en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/27_2/07.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69819-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีen_US
dc.description.abstractการรังวัดด้วยดาวเทียมกำหนดตำแหน่งโลกด้วยเทคนิคจลน์ในทันทีอาจเกิดกวามคลาตเคลื่อนทางพิกัดตำแหน่ง อันเป็นผลกะทบจากสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง ระยะห่าง ระดับความสูงต่างระหว่างสถานีรับสัญญาณดาวเทียมจรและ สถานีถาวร งานวิจัยนี้ต้องการศึกษาผลกระทบดังกล่าว โดยได้จัดทำหมุดทดสอบให้กระจายอยู่ในบริเวณเหมืองแม่เมาะ จังหวัดลำปาง แบ่งเป็นกลุ่มหมุดที่กำหนดระยะห่างทางราบ และกลุ่มที่กำหนดระยะห่างทางดิ่งจากสถานีฐาน การรังวัดแบบจลน์ในทันทีบนหมุดทดสอบจะแบ่งเป็น 3 ช่วงเวลา คือ ฤดูฝน ฤดูหนาว และฤดูร้อน แล้วนำค่าที่ได้มาเทียบกับค่าพิกัดอ้างอิงจากการรังวัดดาวเทียแบบสถิต พบว่าค่าเฉลี่ยกำลังสองของความคลาดเคลื่อนเชิงตำแหน่งทางราบเท่ากับ 2.3 ซม. และทางดิ่ง 3.1 ชม. ผลการคำนวณนี้ทำให้ทราบว่าระยะห่างระหว่างสถานีมีผลกระทบต่อความถูกต้องของค่าพิกัด นอกจากนั้นแล้วความขึ้นและอุณหภูมิในอากาศยังส่งผลต่อการรับสัญญาณดาวเทียมกำหนดตำแหน่งบนพื้นโลก The satellite survey using Real-time kinematic (RTK) positioning method may have some errors occurred due to the effects of the climate changes overtime and baseline lengths between GNSS (Global Navigation Satellite System) base station and rover. This study aims to investigate the effects. The test points were established around Mae Moh mine’s pit, Lampang province. The test points were separated into 2 groups, increment horizontal and vertical distances. The RTK and GNSS surveyings were operated in rainy season, winter, and summer. The measured values were compared with the standard values acquired by static positioning method. The results revealed that the root-mean-square errors were 2.3 cm and 3.1 cm for horizontal and vertical coordinates, respectively. The results showed the distance between the two stations affected the accuracy of coordinates. In addition, the air humidity and temperature were obstacle for receiving GNSS signals.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectดาวเทียมกำหนดตำแหน่งen_US
dc.subjectจลน์ในทันทีen_US
dc.subjectเหมืองถ่านหินลิกไนต์แม่เมาะen_US
dc.subjectระยะเส้นฐานen_US
dc.subjectความคลาดเคลื่อนพิกัดตำแหน่งen_US
dc.titleการศึกษาผลกระทบต่อความถูกต้องในการกำหนดตำแหน่งด้วยการรังวัดดาวเทียมแบบจลน์ในทันที บริเวณเหมืองถ่านหินเปิดแม่เมาะen_US
dc.title.alternativeThe Study of Effects on Positioning Accuracy Using Real Time Kinematic Satellite Survey in Mae Moh Open-pit Coal Mineen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.