Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69816
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอารยา อดุลตระกูลen_US
dc.contributor.authorชมนาด พจนามาตร์en_US
dc.contributor.authorกนกทิพย์ สว่างใจธรรมen_US
dc.date.accessioned2020-10-08T07:27:24Z-
dc.date.available2020-10-08T07:27:24Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 42 (พิเศษธันวาคม 2558) 46-56en_US
dc.identifier.issn0125-5118en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/57299/47514en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69816-
dc.descriptionวารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาลen_US
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็นฐานต่อความรู้เรื่องเพศศึกษา และความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ ในนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษา คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีตามสะดวกเป็นกลุ่มทดลอง 1 ห้อง มีนักเรียน จำนวน 28 คน และ อีก 1 ห้องเป็นกลุ่มควบคุมมีนักเรียน จำนวน 35 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แผนการสอนโดยใช้ ปัญหาเป็นฐานและเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลคือแบบวัดที่คณะผู้วิจัยสร้างขึ้นเองโดยผ่านผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่านตรวจสอบความถูกต้อง ได้ค่าความตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 0.9 แบบวัดความรู้เรื่องเพศศึกษามีค่าความ เชื่อมั่น เท่ากับ 0.72 และแบบวัดความคิดเห็นต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศเท่ากับ 0.92 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ paired t-test และ independent t-test ผลการศึกษา พบว่า ค่าคะแนนเฉลี่ยด้านความรู้เรื่องเพศศึกษาของกลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลองระหว่าง ก่อน และหลังการสอนมีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงขึ้นทั้งสองกลุ่ม โดยกลุ่มทดลองคะแนนเฉลี่ยระหว่างก่อน และ หลังการสอนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.000) และเมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนที่เพิ่มขึ้น พบว่า กลุ่มทดลองมีค่าสูงกว่ากลุ่มควบคุม และแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) ค่าคะแนนเฉลี่ย ด้านความคิดเห็นต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของกลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลองระหว่างก่อน และหลังการสอน มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงขึ้นทั้งสองกลุ่ม และเมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนที่เพิ่มขึ้นระหว่างสองกลุ่มไม่พบความ แตกต่างทางสถิติ ผลการวิจัยครั้งนี้ บ่งชี้ว่า การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานสามารถสอนความรู้เรื่องเพศศึกษาได้ เป็นอย่างดี ส่วนเนื้อหาเกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศควรใช้โจทย์ปัญหาที่อยู่ในความสนใจของผู้เรียนเป็น ตัวกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความคิดวิเคราะห์ในการแก้ไขปัญหา This quasi experimental research aimed to explore the effects of problem based learning towards knowledge on sex education and opinions on sex risk behaviors among students in high school. Study samples were selected by convenience sampling. The test sample was identified as the test classroom, and consisted of 28 students, and the control as classroom B of 35 students. The instruments were the problem based learning teaching plan and questionnaires, both developed by the researchers. The contents validity was tested by 3 experts which the content validity index was 0.9. The reliability test of the questionnaires returned 0.72 for knowledge on sex education and 0.92 for opinion on sex risk behaviors. Data were analyzed by using the paired t-test and the independent t-test. Results revealed that; the mean score of knowledge of sex education in both the case and control groups increased after learning. In the case group, there was a statistically significant difference of mean score between pre- and post-test (p < .000), and the post-test mean score in the case group was statistically significantly higher than the control group (p<.05). The mean score of opinions on sex risk behaviors in both case and control groups was also increased after learning. The post-test mean score in the case group was higher than the control group but there was no statistically significant difference. The results of this study indicated that problem based learning was successfully used for sex education. While using an interesting case or situation was recommended for sex risk behavior’s topic because this method could stimulate critical thinking and problem solving among students.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานen_US
dc.subjectเพศศึกษา, พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศen_US
dc.subjectProblem based learningen_US
dc.subjectex educationen_US
dc.subjectSex risk behaviorsen_US
dc.titleผลของการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานต่อความรู้เรื่องเพศศึกษา และความคิดเห็นต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศในเด็กนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาen_US
dc.title.alternativeEffects of Problem Based Learning Towards Knowledge on Sex Education and Opinions on Sex Risk Behaviors among Mutthayomsuksa Studentsen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.