Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69806
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวิภาดา คุณาวิกติกุลen_US
dc.contributor.authorอรอนงค์ วิชัยคำen_US
dc.contributor.authorอภิรดี นันท์ศุภวัฒน์en_US
dc.contributor.authorสมใจ ศิระกมลen_US
dc.contributor.authorเจียรนัย โพธิ์ไทรย์en_US
dc.contributor.authorพิมประพรรณ สถาพรพัฒน์en_US
dc.contributor.authorดรุณศรี สิริยศธำรงen_US
dc.date.accessioned2020-10-08T07:27:23Z-
dc.date.available2020-10-08T07:27:23Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 42 (พิเศษพฤศจิกายน 2558) 151-165en_US
dc.identifier.issn0125-5118en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/57274/47481en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69806-
dc.descriptionวารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาลen_US
dc.description.abstractการศึกษาเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะและการปฏิบัติบทบาทการสร้างเสริมสุขภาพของพยาบาลวิชาชีพ ที่ปฏิบัติงานในสถานบริการสุขภาพในเขตภาคเหนือทั้ง 17 จังหวัด กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพจำนวน 5,323 คน เครื่องมือวิจัยเป็น แบบสอบถามระดับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการสร้างเสริมสุขภาพ และการปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในการสร้างเสริมสุขภาพตามกรอบกฎบัตรออตตาวา ความเชื่อมั่นของเครื่องมือทดสอบในสถานบริการระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิและตติยภูมิได้เท่ากับ 0.98 - 0.95, 0.97 - 0.88, และ 0.97 - 0.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาหาค่า ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีสมรรถนะด้านคุณลักษณะส่วนบุคคลในการสร้างเสริมสุขภาพและด้านปฏิบัติกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพอยู่ในระดับชำนาญ (ร้อยละ 55.98 และ 55.74 ตามลำดับ)ส่วนสมรรถนะด้านบริหารจัดการในการสร้างเสริมสุขภาพ ด้านการพัฒนาภาคีเครือข่ายการสร้างเสริมสุขภาพและด้านการวิจัยและการจัดการความรู้ส่วนใหญ่อยู่ในระดับพื้นฐาน (ร้อยละ 49.02, 54.98 และ 66.17ตามลำดับ) ส่วนการปฏิบัติบทบาทการสร้างเสริมสุขภาพทั้ง 5 ด้านตามกรอบกฎบัตรออตตาวาพบว่าพยาบาลวิชาชีพส่วนใหญ่ไม่ได้ปฏิบัติบทบาทการสร้างเสริมสุขภาพในด้าน การสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชน การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล และการปรับระบบบริการสุขภาพ (ร้อยละ 33.21, 44.49, 36.52, และ 45.14 ตามลำดับ) และได้ปฏิบัติบทบาทการสร้างเสริมสุขภาพด้านการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพเป็นรายปี (ร้อยละ 35.01) ผลการศึกษานี้จะเป็นแนวทางในการส่งเสริมการพัฒนาสมรรถนะด้านการพัฒนาภาคีเครือข่ายการสร้างเสริมสุขภาพและด้านการวิจัยและการจัดการความรู้ อีกทั้งส่งเสริมบทบาทในการสร้างเสริมสุขภาพให้มากขึ้น This descriptive study aimed to explore health promotion competency and practice among nurses from all 17 provinces of the north region of Thailand. The sample included 5,323 professional nurses. Research instruments consisted of the Health PromotionCompetency Questionnaire and the Health Promotion Practice Based on Ottawa Charter. The reliabilities were 0.98-0.95, 0 .97-0.88, and 0.97-0.96, for the primary, secondary, and tertiary care settings respectively. Data were analyzed by using descriptive statistics, includingfrequency, percentage, mean, and standard deviation. The results revealed that the majority of the sample rated their personal characteristicsin health promotion competency and activity in health promotion competency at an expertlevel (55.98% and 55.74%, respectively). The following were rated at a basic level:management in health promotion, development of health promotion network, and researchand knowledge management competencies were majorly at a basic level (49.02 %, 54.98 % and 66.17 % , respectively). The majority did not perform health practice including building healthy public policy, strengthening community action developing personal skills, and reorienting health services at all (33.21%, 44.49%, 36.52%, and 45.14%, respectively). About 35.01 % of the sample performed health promotion practices yearly. The results of this study can be used as guidelines to enhance the development of health promotion networks and research and knowledge management competencies, as well as to promote health promotion practices.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectสมรรถนะการสร้างเสริมสุขภาพen_US
dc.subjectการปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพen_US
dc.subjectพยาบาลen_US
dc.subjectภาคเหนือของประเทศไทยen_US
dc.subjecthealth promotion competencyen_US
dc.subjecthealth promotion practiceen_US
dc.subjectnursesen_US
dc.subjectthe North region of Thailanden_US
dc.titleสมรรถนะและการปฏิบัติบทบาทการสร้างเสริมสุขภาพของพยาบาล เขตภาคเหนือen_US
dc.title.alternativeHealth Promotion Competency and Practice among Nurses, the North Regionen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.