Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69770
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมานัดถุ์ คำกอง-
dc.contributor.authorพรหมภัสสร อะสะนิธิกูรen_US
dc.date.accessioned2020-09-22T02:21:09Z-
dc.date.available2020-09-22T02:21:09Z-
dc.date.issued2020-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69770-
dc.description.abstractThis research aimed to (1) develop and test the validity of the measurement model of digital literacy for undergraduate students. (2) Analyzed structural validity of multi-level structural equation model influencing the digital literacy of undergraduate students. The research samples were 2,090 undergraduates and 61 faculty who are studying in 13 universities in Northern. The research samples were obtained from Stratify Random Sampling. The research instrument was the questionnaire with 93 items and 5 levels rating scale and has 3 parts which are (1) Inquire about general information. (2) Digital literacy questionnaire with 39 items, namely Technical practice skills, Thinking and analysis skills, Collaboration skills and sharing and Social awareness skills with reliability 0.796 0.814 0.789 and 0.717, respectively. (3) Factors influencing the digital literacy questionnaire with 54 items. The reliability value was between .729 - .891. The data analysis used the descriptive statistics, Multiple Correlation Analysis, Second-order Confirmatory Factor Analysis (2nd CFA), Multilevel confirmatory factor analysis (MCFA) and Multilevel structural equation model (MSEM). The results of the study were as (1) the measurement model of digital literacy revealed 4 factors, namely Collaboration and sharing skills, Thinking and Analysis, Technical practice skills and Social-Awareness skills. The factor loadings ranking from the highest to the lowest were .806 .650 .624 and .522, respectively. The validation of a goodness of fitted model yielded a Chi-square of 62.668, df = 61, p-value = .4169, CFI = 1.000, TLI = 1.000, RMSEA = .004 and SRMR = .018.The variables in the measurement model of digital literacy for undergraduate students was in harmonious congruence with the empirical data consider from index goodness of fit measure. The weight of each indicators in first-order CFA was positive with statistical significance at the level of .01 and all indicators were measurable. (2) The Analyzed structural validity of multi-level structural equation model are validation of a goodness of fitted model yielded a Chi-square of 330.900, df = 295, p-value = .0736, CFI = .995, TLI = .995, RMSEA = .008, SRMR - Within = .010 and SRMR- Between = .339, At the student level it was found that media effect factors had the most direct effect and indirect effect that influenced the digital literacy of undergraduate students. At the faculty level it was found that climate factors had the most direct effect that influenced the digital literacy. And it was found that environment factors had the most indirect effect that influenced the digital literacy. However, factors at the student level can explain 48.6 percent of the variance of digital literacy for each student. And factors at the faculty level could explain the variance of digital literacy for each faculty at 80.5 percent.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectสมการโครงสร้างen_US
dc.subjectโมเดลen_US
dc.subjectการรู้ดิจิทัลen_US
dc.subjectนักศึกษาระดับปริญญาตรีen_US
dc.titleโมเดลสมการโครงสร้างพหุระดับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรู้ดิจิทัลสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีen_US
dc.title.alternativeThe Multi-level structural equation model of factors influencing the digital literacy of undergraduate studentsen_US
dc.typeThesis-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพื่อพัฒนาและตรวจสอบความตรงของโมเดลการวัดการรู้ดิจิทัลของนักศึกษาระดับปริญญาตรี และ 2) เพื่อพัฒนาและตรวจสอบความตรงของโมเดลสมการโครงสร้างพหุระดับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรู้ดิจิทัลสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีกลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเขตภาคเหนือ จำนวน 2,090 คน จำนวน 61 คณะ ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (Stratify Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามชนิดมาตราประมาณค่า 5 ระดับ (Rating scale) จำนวน 1 ฉบับ แบ่งเป็น 3 ตอน ประกอบด้วย ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไป ตอนที่ 2 แบบวัดทักษะการรู้ดิจิทัล จำนวน 39 ข้อ วัดองค์ประกอบทักษะการปฏิบัติการทางเทคนิค ทักษะการคิดและวิเคราะห์ ทักษะการร่วมมือและแบ่งปัน และทักษะการตระหนักรู้ทางสังคม มีค่าความเชื่อมั่นในการวัดแต่ละองค์ประกอบเท่ากับ 0.796, 0.814, 0.789 และ 0.717 ตามลำดับ และตอนที่ 3 แบบสอบถามปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรู้ดิจิทัลสาหรับนักศึกษา จำนวน 54 ข้อ จำแนกเป็นด้านการสนับสนุนของครอบครัว จำนวน 9 ข้อ ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.729 ด้านความสามารถและความถนัด จำนวน 6 ข้อ ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.790 ด้านอิทธิพลของสื่อ จำนวน 9 ข้อ ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.867 ด้านแรงจูงใจ จำนวน 9 ข้อ ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.868 ด้านบรรยากาศการส่งเสริมการรู้ดิจิทัล จำนวน 9 ข้อ ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.812 และ ด้านสภาพแวดล้อม จำนวน 12 ข้อ ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.891 การวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย การวิเคราะห์สถิติเชิงบรรยาย การวิเคราะห์สัมประสิทธ์ิ สหสัมพันธ์พหุคูณ (Multiple Correlation Analysis) การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับ ที่สอง (2nd CFA) การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันพหุระดับ (MCFA) และการวิเคราะห์โมเดล สมการโครงสร้างพหุระดับ (MSEM) ผลการวิจัยพบว่า 1) โมเดลการวัดการรู้ดิจิทัลสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีมีความสอดคล้องกลมกลืนกับ ข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยได้ค่าดัชนีในการพิจารณาความสอดคล้องกลมกลืนเท่ากับ 2 = 62.668, df = 61, x^2 / df = 1.027, p-value = 0.4169, CFI = 1.000, TLI = 1.000, RMSEA = 0.004 และ SRMR = 0.018 พบว่าค่าน้ำหนักองค์ประกอบในลำดับที่ 2 มีค่าอยู่ระหว่าง 0.522 ถึง 0.806 โดยองค์ประกอบที่มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบในรูปคะแนนมาตรฐานมากที่สุด ได้แก่ ทักษะการร่วมมือและแบ่งปัน รองลงมา คือ ทักษะการคิดและวิเคราะห์ ทักษะการปฏิบัติการทางเทคนิค และทักษะการตระหนักรู้ทางสังคม ตามลำดับ 2) ผลการพัฒนาและตรวจสอบความตรงของโมเดลสมการโครงสร้างพหุระดับปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อการรู้ดิจิทัลสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยได้ค่าดัชนีในการพิจารณาความสอดคล้องกลมกลืนเท่ากับ 2 = 330.900, df = 295, x^2 / df = 1.121, p-value = 0.0736, CFI = 0.995, TLI = 0.995, RMSEA = 0.008 และ SRMR- Within = 0.010 และ SRMR- Between = 0.339 โดยในระดับนักศึกษา ตัวแปรที่มีอิทธิพล ทางตรงและทางอ้อมต่อการรู้ดิจิทัลมากที่สุด คือ อิทธิพลของสื่อ และในระดับคณะ ตัวแปรที่มี อิทธิพลทางตรงต่อการรู้ดิจิทัลมากที่สุด คือ บรรยากาศส่งเสริมการรู้ดิจิทัล และปัจจัยที่มีอิทธิพล ทางอ้อมมากที่สุด คือ สภาพแวดล้อมการรู้ดิจิทัล ทั้งนี้ปัจจัยในระดับนักศึกษาร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการรู้ดิจิทัลสาหรับนักศึกษารายคนได้คิดเป็นร้อยละ 48.6 และปัจจัยในระดับคณะร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการรู้ดิจิทัลสำหรับนักศึกษาแต่ละคณะได้คิดเป็นร้อยละ 80.en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600232042 พรหมภัสสร อะสะนิธิกูร.pdf4.31 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.