Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69766
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกนกพร แสนเพชร-
dc.contributor.authorพัชริดา เพ็ญภาคกุลen_US
dc.date.accessioned2020-09-22T02:20:43Z-
dc.date.available2020-09-22T02:20:43Z-
dc.date.issued2020-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69766-
dc.description.abstractThe aims of this study are to evaluate the efficacy of Thai herbal extracts against hair loss and to develop herbal formulations for treating hair loss. Phytosterol extracts and flavonoid extracts from 6 medicinal plants including Nom-wau (Uvaria rufa Blume), Nom-maew (Anomianthus dulcis (Dunal) J. Sinclair), Nom-kwai (Artabotrys harmandii Finet & Gagnep.), Kled-pla-chon (Phyllodium pulchellum), Fang (Caesalpinia sappan L.) and Tum-leung (Coccinia grandis) were examined for their anti-hair loss effects by 3 in vitro analysis, the assessment of hair follicle elongation, 5α-reductase inhibitory activity and antioxidant activity. The most effective extracts in in vitro studies were flavonoid extracts from Nom-wau, Nom-maew, Fang and Kled-pla-chon as well as phytosterol extract from Nom-Kwai. Fifteen anti-hair loss formulas were prepared from those extracts and then tested for their activities in promoting hair follicle elongation and inhibiting 5α-reductase activity. The results showed that there were 2 potent formulas with anti-hair loss activity, formula 1 and formula 5. The formula 1 is composed of flavonoid extracts from Kled-pla-chon Fang and Nom-wau with a proportion of 1:3:1 and the formula 5 is composed flavonoid extracts from Kled-pla-chon Fang and Nom-wau with a proportion of 4:0.5:0.5. Theses 2 formulas were selected for in vivo evaluation of anti-hair loss activity. The obtained results were compared with those of synthetic drugs; finasteride and minoxidil. Our results demonstrated that mice treated with both formulas regrew their hair faster than control mice. Mice treated with formula 1 and formula 5 exhibited initial hair regrowth on day 14 and day 21 of the experiment, respectively. Also, the group treated with formula 5 showed the highest density of hair follicles as compared to other groups and their hair were all in anagen stage. Both formulas significantly increased antioxidant levels and significantly decreased lipid peroxidation in the skin tissues as compared to the negative control. In addition, both formulas effectively inhibited 5α-reductase activity since they significantly promoted skin tissue testosterone as the same level as finasteride. Thus, both formulas which consisted of flavonoid extracts from Kled-pla-chon, Fang and Nom-wau have potent anti-hair loss effects by inducing hair regrowth, inhibiting oxidative stress, and inhibiting 5α-reductase. Also, the formulas could be further developed into anti-hair loss products.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectพืชสมุนไพรen_US
dc.subjectตำรับพืชสมุนไพรen_US
dc.subjectภาวะผมร่วงen_US
dc.titleการประเมินประสิทธิภาพของสูตรตำรับพืชสมุนไพรไทยในการต้านภาวะผมร่วงen_US
dc.title.alternativeEfficacy evaluation of Thai herbal formulations against hair lossen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฤทธิ์ต้านภาวะผมร่วงของพืชสมุนไพรไทยและสร้างสูตร ตํารับสมุนไพรรักษาผมร่วง โดยใช้สารสกัดไฟโตสเตอรอล (phytosterols) และการสกัดฟลาโวนอยด์ (flavonoids) จากพืชสมุนไพรจํานวน 6 ชนิด ได้แก่ นมวัว (Uvania rufa Blume) นมแมว (4nomianthus dulcis (Dunal) I. Sinclair) นมควาย (Artabotays harmandii Finet & Gagnep.) เกล็ดปลาช่อน (Phyllodium pulchellum) ฝาง (Caesalpinia sappan L.) และตําลึง (Coccinia grandis) ศึกษาฤทธิ์ต้าน ภาวะผมร่วงในหลอดทดลองของสารสกัดดังกล่าว 3 วิธีการ ได้แก่ การทดสอบฤทธิ์กระตุ้นการงอก ของเซลล์รากขน การทดสอบฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ 5d-reductase และการทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ สารสกัดที่ให้ผลอย่างประสิทธิภาพในการทดสอบในหลอดทดลอง ได้แก่ สารสกัดฟลาโว นอยด์จากนมวัว นมแมว ฝาง และเกล็ดปลาช่อน และสารสกัดไฟโตสเตอรอลจากนมควาย นําสาร สกัดเหล่านี้ไปสร้างสูตรตํารับสมุนไพรต้านผมร่วงจํานวน 15 ตํารับ แล้วนําตํารับที่สร้างได้ไป ทดสอบฤทธิ์กระตุ้นการงอกของเซลล์รากขน และการทดสอบฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ 5d-reductase อีก ครั้งหนึ่ง ผลการทดลองพบว่าสูตรตํารับที่ให้ผลอย่างมีประสิทธิภาพ 2 ตํารับ คือ สูตรตํารับที่ 1 ประกอบด้วยสารสกัดฟลาโวนอยด์จากเกล็ดปลาช่อน ฝาง และนมวัว ในอัตราส่วน 1:3:1 และสูตร ตํารับที่ 5 ประกอบด้วยสารสกัดฟลาโวนอยด์จากเกล็ดปลาช่อน ฝาง และนมวัว ในอัตราส่วน4:0.5:0.5 สูตรตํารับ 2 ตํารับนี้ถูกคัดเลือกไปทดสอบฤทธิ์ต้านภาวะผมร่วงในหนูทดลอง โดยเทียบผลการ ทดลองกับยาสังเคราะห์ชนิด finasteride และ minoxidil จากการศึกษาพบว่าสูตรตํารับทั้ง 2 ตํารับ กระตุ้นการงอกใหม่ของเส้นขนได้เร็วกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยหนู ทดลองที่ได้รับสูตรที่ 1 และ 5 มีเส้นขนเริ่มขึ้นในวันที่ 14 และ 21 ของการทดลอง ตามลําดับ อีกทั้งกลุ่มที่ได้รับสูตรตํารับที่ 5 แสดงความหนาแน่นของต่อมรากขนสูงที่สุด เมื่อเทียบกับกลุ่มอื่น และ แสดงระยะ anagen ทั้งหมด สูตรตํารับทั้ง 2 ตํารับสามารถเพิ่มระดับสารต้านอนุมูลอิสระ รวมทั้งยับยั้ง การเกิด lipid peroxidation ในเนื้อเยื่อผิวหนัง เมื่อเทียบกับกลุ่ม negative control อย่างมีนัยสําคัญ นอกจากนี้สูตรตํารับทั้ง 2 ตํารับสามารถออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ 5C-reductase ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยแสดงระดับฮอร์โมน testosterone ในเนื้อเยื่อผิวหนังอยู่ในระดับเดียวกับกลุ่มที่ได้รับยา finasteride ดังนั้นสูตรตํารับทั้ง 2 ตํารับที่ประกอบด้วยสารสกัด ฟลาโวนอยด์ของเกล็ดปลาช่อน ฝาง และ นมวัวมีศักยภาพด้านภาวะผมร่วงผ่านกลไกการกระตุ้นการงอกของเส้นผม ยับยั้งภาวะเครียดออกซิ เคชั่น และยับยั้งเอนไซม์ 5d-reductase และสามารถนําไปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ป้องกันรักษาภาวะผม ร่วงต่อไปen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600531130 พัชริดา เพ็ญภาคกุล.pdf5.7 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.