Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69753
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorProf.Dr. Lakkana Thaikruea, M.D.-
dc.contributor.advisorProf. Nahathai Wongpakaran, M.D.-
dc.contributor.advisorAsst.Prof. Dr. Peeraya Munkhetvit-
dc.contributor.authorJiranan Griffithsen_US
dc.date.accessioned2020-09-01T03:03:05Z-
dc.date.available2020-09-01T03:03:05Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69753-
dc.description.abstractBackground: Mild Neurocognitive Disorder (mNCD) is a new term for Mild Cognitive Impairment (MCI). It is a transitional stage between normal cognitive functions and dementia. A review showed that 10-15% of those with MCI progressed annually to dementia or a major neurocognitive disorder. Health professionals worldwide try to examine a variety of strategies for prevention. Objectives: The study aimed to investigate the prevalence and risk factors associated with MCI among older people in a rural community in Chiang Mai. It also aimed to investigate the effect of a combination of physical movement activity and multifaceted cognitive training on cognitive function in older people with mNCD. Methods: In the first phase, a cross-sectional study in 482 people who were 60 years old and over was conducted in On Tai, San Kamphaeng, Chiang Mai, Thailand. The assessments were administered by trained occupational therapists using demographic and health characteristics, Mental Status Examination Thai 10, Activities of Daily Living Scale (Thai Barthel ADL Index), 15-item Geriatric Depression Scale (TGDS-15) and the Montreal Cognitive Assessment - Basic (MoCA-B, Thai version). In the second phase, a randomized control trial in 70 mNCD people, according to DSM-5 criteria, was conducted with an intervention group and a control group (n=35 each). The program for the intervention group included 24 sessions, twice a week. The outcome measures were assessed before and after intervention. It included of attention, memory, executive function, Instrumental of Activity of Daily Living (IADL), and Quality of Life (QoL). Results: The prevalence of MCI in older people was 71.4% (344 out of 482) and it increased with age. The mean age of MCI was 68.3 ± 6.82 years and most had an education ≤ 4 years. Risk factors associated with MCI were low education (RR:1.74, 95%CI:1.21 to 2.51) and diabetes mellitus (RR: 1.19, 95% CI:1.04 to1.36). The combined intervention benefited cognitive functions. Attention, Trail Making Test (TMT) - A was significantly improved in the intervention group (p=0.018). There were significant improvements in memory, digit span sequence (DSS) scores (p=0.024), letter verbal fluency (LVF) (p=0.001) and category verbal fluency (CVF) (p=0.004). Comparing between groups, there was a significant difference in LVF (p=0.001) including immediate (p=0.023) and delayed recall (p=0.036). Executive function, block design improved significantly in the intervention group (p=0.029). IADL scores slightly increased in both groups, but there was no significant difference between groups. In quality of life, a significant improvement was found in physical functions (p=0.001), role limitation due to physical problems (p=0.016), general health perception (p=0.018), health change (p=0.001) and in the total score of quality of life (p=0.001). Conclusions: The prevalence of MCI in older Thai people is high in a rural community. The explanation might be associated with old age, a low education and diabetes mellitus. The combined intervention appears to be effective in delaying cognitive impairment in older people. This program could be used for older people who have similar condition or culture. Trials in other communities are also recommended.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleEffects of Combined Physical Movement Activity and Multifaceted Cognitive Training in Older People with Mild Cognitive Impairment in a Rural Areaen_US
dc.title.alternativeผลของการผสมผสานกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายและการฝึกความคิดความเข้าใจแบบหลากหลายด้านในผู้สูงอายุที่มีความบกพร่องทางด้านความคิดความเข้าใจเล็กน้อยในพื้นที่ชนบทen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractที่มาและปัญหา: ความผิดปกติทางระบบประสาทความคิดความเข้าใจอย่างอ่อนเป็นคำศัพท์ใหม่ที่ใช้แทนภาวะความคิดและความเข้าใจบกพร่องเล็กน้อย ภาวะนี้เป็นขั้นที่อยู่ระหว่างความคิดความเข้าใจปกติและภาวะสมองเสื่อม มีการรายงานว่า 10-15 % ของภาวะนี้จะพัฒนาไปสู่ภาวะสมองเสื่อมหรือความผิดปกติทางระบบประสาทอย่างมาก บุคลากรทางการแพทย์พยายามที่จะหากลยุทธ์ในการป้องกัน วัตถุประสงค์: เพื่อหาความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะความคิดความเข้าใจเล็กน้อยในผู้สูงอายุในชนบทจังหวัดเชียงใหม่และเพื่อศึกษาหาผลของการผสมผสานกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายและการฝึกความคิดความเข้าใจแบบหลากหลายด้านผู้สูงอายุที่ความผิดปกติทางระบบประสาทความคิดความเข้าใจอย่างอ่อน วิธีการวิจัย: ในระยะที่ 1 เป็นรูปแบบการศึกษาทางระบาดวิทยาแบบภาคตัดขวางในผู้สูงอายุ 482 คนที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปที่ตำบลออนใต้ สันกำแพง เชียงใหม่ มีการประเมินโดยนักกิจกรรมบาบัดที่ได้รับการฝึก เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลทั่วไปและสุขภาพ แบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นฉบับภาษาไทย แบบวัดกิจวัตรประจาวัน แบบวัดความเศร้าในผู้สูงอายุไทย 15 ข้อ แบบประเมินพุทธิปัญญาฉบับภาษาไทยในระยะที่ 2 เป็นการศึกษาแบบการสุ่มและมีกลุ่มควบคุมในผู้สูงอายุความผิดปกติทางระบบประสาทความคิดความเข้าใจอย่างอ่อนจานวน 70 คน ที่ได้รับการวินิจฉัยตามเกณฑ์ของคู่มือการวินิจฉัยและสถิติของความผิดปกติทางจิตฉบับที่ห้า กลุ่มทดลองมีจานวน 35 คนและกลุ่มควบคุมมีจำนวน 35 คน โปรแกรมการรักษาที่ใช้มีทั้งหมด 24 ครั้ง เป็นเวลา 2 ครั้งต่อสัปดาห์ การวัดผลลัพธ์ทาก่อนและหลังการให้โปรแกรมการรักษา ประกอบไปด้วยการวัดความสนใจจดจ่อ ความจำ หน้าที่ของสมองระดับสูง กิจวัตรประจำวันที่ซับซ้อน และคุณภาพชีวิต ผลการวิจัย: ความชุกของภาวะความคิดความเข้าใจบกพร่องเล็กน้อยอยู่ที่ 71.4% (344 จาก 482 คน) ความชุกเพิ่มขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยผู้สูงอายุที่มีความคิดความเข้าใจบกพร่องเล็กน้อย อยู่ที่ 68.3 ± 6.82 ปี ส่วนใหญ่การศึกษา ≤ 4 ปี ปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องได้แก่ การศึกษา ≤ 4 ปี (RR:1.74,95 % CI: 1.21-2.51) และเบาหวาน (RR: 1.19, 95 % CI: 1.04 -1.36) สำหรับโปรแกรมการรักษาแบบผสมผสานมีผลดีต่อความคิดความเข้าใจ ความสนใจจดจ่อเพิ่มขึ้น(p=0.018) ในกลุ่มที่เข้าโปรแกรม มีการพัฒนาในทางที่ดีขั้นอย่างมีนัยสาคัญทางด้านความจำจากการฟังตัวเลขเป็นลำดับ (p=0.024) ความจำตัวอักษร (p=0.001) และความจำแบบหมวดหมู่ (p=0.004) เมื่อเปรียบเทียบระหว่าง 2 กลุ่มมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญในทางที่ดีขึ้นในความจำตัวอักษร(p=0.001) รวมไปถึงความจำทันที (p=0.023) และความจำแบบทิ้งระยะห่าง (p=0.036) การวางบล็อกตามแบบดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ (p=0.029) ในกลุ่มที่เข้าโปรแกรม ส่วนคะแนนการทำกิจวัตรประจาวันขั้นสูงเพิ่มขึ้นเล็กน้อยทั้ง 2 กลุ่มแต่ไม่มีความแตกต่างระหว่างกลุ่ม ในด้านคุณภาพชีวิตมีคะแนนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในด้านความสามารถทางกาย (p=0.001) ข้อจำกัดเนื่องจากปัญหาทางด้านร่างกาย (p=0.016) การรับรู้เกี่ยวกับสุขภาพโดยทั่วไป (p=0.018) การเปลี่ยนแปลงของสุขภาพ (p=0.001) และคุณภาพชีวิตโดยรวมดีขึ้น (p=0.001) บทสรุป: ความชุกของภาวะความคิดความเข้าใจบกพร่องเล็กน้อยในผู้สูงอายุสูงในชนบทอยู่ในระดับสูง ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากอายุที่เพิ่มมากขึ้น การศึกษาน้อย และโรคเบาหวาน การใช้โปรแกรมที่ผสมผสานระหว่างกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายและการฝึกความคิดความเข้าใจอย่างหลากหลายมีประสิทธิภาพในการช่วยชลอความเสื่อมของภาวะความรู้ความเข้าใจในผู้สูงอายุ โปรแกรมนี้สามารถนำไปทดลองใช้ในผู้สูงอายุที่มีลักษณะใกล้เคียงกันหรือในชุมชนอื่นที่มีวัฒนธรรมคล้ายคลึงกันและแนะนาให้มีการศึกษาในชุมชนอื่นต่อไปen_US
Appears in Collections:MED: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580751003 จิรนันท์ กริฟฟิทส์.pdf1.84 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.