Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69722
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAnurak Panyanuwat-
dc.contributor.advisorChoocheep Puthaprasert-
dc.contributor.advisorAnnop Pongwat-
dc.contributor.authorJaranya Thepphornbanchakiten_US
dc.date.accessioned2020-08-25T02:08:10Z-
dc.date.available2020-08-25T02:08:10Z-
dc.date.issued2014-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69722-
dc.description.abstractThe objectives of this study, “The Efficacy of an Administrative Model of Thai Private Universities with International Curricula,” were (1) to identify the administrative models in Thai private universities with international curricula, (2) to develop the administrative models efficient for Thai private universities with international curricula which are effective and appropriate, and (3) to test the efficacy and appropriateness of the administrative models in Thai private universities with international curricula. The research methods employed in this study were those of the application of Research and Development techniques. There were four administrative models found in Thai private higher education institutions with international curricula which were (1) “Business Venture/Company” institutions, (2) “Religious-Oriented” institutions, (3) “Semi-Elite” Institutions, and (4) “Demand-Absorbing” institutions. The study showed that administrative models developed for Thai private universities with international curricula were effective and appropriate according to the approval from the connoisseurs towards utility standards, feasibility standards, propriety standards, and accuracy standards in the level of being “considerable.” The models consisted of five aspects: academic, general, research, financial, and human resource managements. There were ten components in the academic management model – internationalization of the curricula, curriculum recognized and accepted, credit transfer, medium of instruction, diversity of instructors, quality of instructors, diversity of international students, activities enhancing academic and cultural experience to students and instructors, curriculum quality assurance, and curriculum website development. There were seven components in the general management model – administrative model, administrative easiness, technology for educational administration, administrative participation from other parties, administrators’ vision, administrators’ capabilities, and aggressive public relations. For the research management, there were three components – research time frame of instructors, support for instructors’ research and presentation, and research dissemination encouragement in international journals. There were three components in the finance management model – finance management characteristics, resource sharing to achieve maximum benefit, and external sources of funds. In the human resource management aspect, there were three components – human resource management characteristics, knowledge management, and institutional work culture. According to the in-depth interview results, all of the nine key informants agreed with all of the components in all five aspects developed. They also agreed with the details of each component in that they were inclusive for utilizing in administrating international curricula of the university. The management model was efficient, appropriate, and beneficial in administrating international curricula of Thai private higher educational institutions.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectAdministrative Modelen_US
dc.subjectThai Private Universitiesen_US
dc.subjectInternational Curriculaen_US
dc.titleThe Efficacy of an Administrative Model of Thai Private Universities with International Curriculaen_US
dc.title.alternativeประสิทธิภาพของรูปแบบการบริหารจัดการที่มีการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติของมหาวิทยาลัยเอกชนไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc375-
thailis.controlvocab.thashEducation -- Curricula-
thailis.manuscript.callnumberTh 375 J37E-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการบริหารจัดการที่มีการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติของมหาวิทยาลัยเอกชนไทยเป็นการวิจัยที่ใช้ระเบียบวิธีเชิงการวิจัยและพัฒนา (Research and Development)โดยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัย 3 ประการ คือ (1) ศึกษารูปแบบการบริหารจัดการของมหาวิทยาลัยเอกชนไทยที่มีการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ (2) พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยเอกชนไทยที่มีการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสม และ (3) ทดสอบประสิทธิภาพและความเหมาะสมของรูปแบบการบริหารจัดการของมหาวิทยาลัยเอกชนไทยที่มีการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ ผลการศึกษาพบว่ารูปแบบการบริหารจัดการของมหาวิทยาลัยเอกชนไทยที่มีการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ มี 4 รูปแบบ คือ (1) “แบบผู้ประกอบการ/บริษัท” (2) “แบบกลุ่มศาสนา” (3) “แบบกึ่งชนชั้นสูง” และ (4) “แบบดูดซับความต้องการ” สำหรับรูปแบบการบริหารจัดการที่มีการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติของมหาวิทยาลัยเอกชนไทย ซึ่งได้รับการยอมรับจากผู้ทรงคุณวุฒิทั้งหมดในด้านความมีประสิทธิภาพและความเหมาะสมในระดับ “มาก” ควรประกอบด้วยองค์ประกอบ 5 ด้าน คือ ด้านวิชาการ ด้านทั่วไป ด้านการวิจัย ด้านการเงิน และด้านทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งในแต่ละด้านยังประกอบด้วยองค์ประกอบรายด้าน ดังนี้ ด้านที่ 1 การบริหารจัดการวิชาการ ประกอบด้วย 10 องค์ประกอบรายด้าน ได้แก่ (1) การมีรายวิชาในหลักสูตรนานาชาติที่ศึกษาประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม การเมือง สังคม เศรษฐกิจของประเทศต่างๆ (2) การที่หลักสูตรนานาชาติเป็นที่ยอมรับ (3) การเทียบโอนหน่วยกิตตามหลักเกณฑ์ที่ได้รับการยอมรับจากมหาวิทยาลัยที่มีหลักสูตรนานาชาติอื่นๆ (4) ภาษาในการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษ (5) ความหลากหลายทางสัญชาติและเชื้อชาติของอาจารย์ประจำหลักสูตรนานาชาติ (6) คุณภาพของอาจารย์ (7) ความหลากหลายทางสัญชาติและเชื้อชาติของนักศึกษานานาชาติ (8) กิจกรรมทางวิชาการและวัฒนธรรมสำหรับนักศึกษาและผู้สอนที่ครอบคลุมวัฒนธรรมจากต่างชาติ (9) การประกันคุณภาพหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา และ (10) การพัฒนาเว็บไซด์ของหลักสูตรอย่างต่อเนื่องในหลากหลายภาษา ด้านที่ 2 การบริหารจัดการทั่วไป ประกอบด้วยองค์ประกอบรายด้าน 7 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) รูปแบบการบริหารจัดการภายใต้การบริหารจัดการของวิทยาลัยนานาชาติ (2) ความคล่องตัวในการบริหารจัดการหลักสูตรนานาชาติที่มีความเป็นอิสระสูง (3) การใช้เทคโนโลยีสำหรับการบริหารและการจัดการศึกษา (4) การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาจากภาคีอื่นทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ (5) วิสัยทัศน์ของผู้บริหาร (6) ความสามารถของผู้บริหาร และ (7) การจัดตั้งหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์และการตลาด ด้านที่ 3 การบริหารจัดการด้านการวิจัย ประกอบด้วยองค์ประกอบรายด้าน 3 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) การกำหนดให้การทำวิจัยเป็นส่วนหนึ่งในภาระงานของอาจารย์อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร (2) การสนับสนุนให้คณาจารย์ทำวิจัยและนำเสนอผลงาน และ (3) การผลักดันให้คณาจารย์เผยแพร่ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ ด้านที่ 4 การบริหารจัดการด้านการเงิน ประกอบด้วยองค์ประกอบรายด้าน 3 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) ลักษณะการบริหารจัดการด้านการเงินที่มีความคล่องตัวและรวดเร็ว (2) การใช้ทรัพยากรร่วมกันให้เกิดประโยชน์สูงสุด และ (3) การมีแหล่งเงินสนับสนุนการวิจัยและการบริการวิชาการจากภายนอก ด้านที่ 5 การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ ประกอบด้วยองค์ประกอบรายด้าน 3 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) ลักษณะการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติสถาบันการศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 (2) การจัดการความรู้ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย และ (3) วัฒนธรรมการทำงานของมหาวิทยาลัยที่มีการกำหนดไว้อย่างชัดเจน จากผลการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลักทั้งหมด พบว่าผู้ให้ข้อมูลหลักทุกท่านเห็นด้วยกับทุกองค์ประกอบรายด้านในองค์ประกอบ 5 ด้านที่ได้นำไปทดลองใช้ว่ามีความครอบคลุมครบถ้วน รูปแบบการบริหารจัดการที่พัฒนาขึ้นส่งผลให้การบริหารจัดการมหาวิทยาลัยเอกชนไทยที่มีการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติมีประสิทธิภาพและมีความเหมาะสมได้จริงen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.91 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.